Online Zoom หลักสูตร: ได้รับผลกระทบจาก covid-19 ระบาดเมื่อคนล้นงานและนายจ้าง มีนโยบาย ลดสวัสดิการ ลดค่าจ้าง หรือเลิกจ้างต้องบริหารอย่างไร..? อบรม 19 ต.ค.64
Online Zoom ยืนยัน หลักสูตร: ได้รับผลกระทบจาก covid-19 ระบาดเมื่อคนล้นงานและนายจ้าง มีนโยบาย ลดสวัสดิการ ลดค่าจ้าง หรือเลิกจ้างต้องบริหารอย่างไร..? อบรม 19 ต.ค.64
ราคาโปรโมรชั่น 1,900 บาท บรรยาย 13.00-17.00
โปรโมรชั่นสมัคร 3 ท่าน เข้าอบรม 4 ท่าน
ราคาหลักสูตรออนไลน์ รับใบประกาศแบบออนไลน์
วัตถุประสงค์
-
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติได้จริง ต่อการออกหนังสือเป็นประกาศ หรือออกคำสั่งต่างๆตาม นโยบายของบริษัทฯเพื่อให้พนักงานได้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อเป็นการแก้ปัญหาในกรณีองค์กรประสบปัญหาในทางเศรษฐกิจจากโรคโควิด-19ระบาด
-
เพื่อเป็นแนวทางให้นายจ้าง หรือผู้บริหารงานในองค์กรบริษัทเอกชนได้ทราบเทคนิคการแก้ปัญหาต่างๆ และในกรณีองค์กรมีความจำเป็นที่จะต้องลดค่าสวัสดิการ หรือลดค่าจ้างพนักงานลง เพื่อเป็นการประคององค์กรให้อยู่ต่อไปได้โดยไม่ปิดตัวลง และเพื่อเป็นการนำเสนอให้ลูกจ้างทราบและให้มีความเข้าใจในปัญหาที่เกิด นายจ้างต้องให้เหตุผล และต้องบริหารงานหรือต้องใช้เทคนิค อย่างไร….
-
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเป็นกรณีศึกษา เมื่อมีความจำเป็นต้องออกหนังสือเลิกจ้างพนักงานต้องให้เหตุผลอย่างไร…ต้องแจ้งต้องจ่ายให้พนักงานอะไรบ้าง…ถึงจะไม่ให้เกิดปัญหาลูกจ้างฟ้องเพื่อเรียกร้องสิทธิทางแรงงานจังหวัด หรือฟ้องศาลแรงงานภายหลัง
หัวข้อในการอบรม
หมวด 1: การแก้ปัญหาเมื่อได้รับผลกระทบจาก covid-19 ระบาด
การออกหนังสือให้พนักงานลงข้อมูลส่วนบุคคล กรณีเข้าไปสัมผัสกับผู้ติดเชื้อโควิด-19หรือไปอยู่ในกลุ่มบุคคลที่มีสุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อ มีตัวอย่าง : การออกหนังสือ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
2. การออกหนังสือรณรงค์ ให้พนักงานฉีดวัคซีน เพื่อเป็นการป้องกัน และ/หรือบรรเทาการเจ็บป่วยจากโรคโควิด-19
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
3. การออกหนังสือกำหนดให้พนักงาน กักตัว 14 วัน เพื่อเฝ้าดูอาการของการติดเชื้อจากโรคโควิด-19 มีตัวอย่าง : การออกหนังสือ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
4. ในกรณีลูกจ้างติดเชื้อโควิด-19 และต้องพักรักษาตัวตามโรงพยาบาลสนามตามแพทย์กำหนดจะได้รับสิทธิลางานอะไร…นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างหรือไม่…เมื่อลูกจ้างได้รับสิทธิการว่างงานจากสำนักงานประกันสังคม ต้องดำเนินการอย่างไร..? มีตัวอย่าง : การออกหนังสือ, เอกสาร แจ้งต่อหน่วยงานภาครัฐ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
5. กรณีนายจ้างประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจด้วยเหตุโควิด-19 ระบาดจึงมี นโยบาย ลดค่าสวัสดิการที่นายจ้างจ่ายให้พนักงานเป็นการชั่วคราว ซึ่งมีระยะเวลา 30 – 60 วัน นายจ้างต้องบริหารอย่างไร..?
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือเป็นประกาศของบริษัทฯ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
6. การออกหนังสือยินยอมให้บริษัทฯเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง เพื่อลดค่าสวัสดิการเป็นการชั่วคราว นายจ้างจะใช้เทคนิคอย่างไร..?
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือยินยอมให้บริษัทฯลดสวัสดิการของพนักงาน แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
-
กรณีนายจ้างประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจด้วยเหตุโควิด-19ระบาด จึงมี นโยบายลดค่าจ้าง – ลดวันทำงานของพนักงานลงเป็นการชั่วคราว โดยงดจ่ายค่าจ้างพนักงานคนละร้อยละ20ของค่าจ้าง /ต่อเดือนเพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจตาม นโยบายดังกล่าวต้องบริหารอย่างไร..? มีตัวอย่าง : การออกหนังสือเป็นประกาศของบริษัทฯ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
-
การออกหนังสือให้ความร่วมมือยินยอมลาหยุดงานตาม นโยบายของบริษัทฯ กรณีบริษัทฯได้รับผลกระทบจากโรคโควิด-19 ระบาด มีตัวอย่าง : การออกหนังสือให้ความยินยอมของพนักงาน แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
-
กรณีนายจ้างมีความจำเป็นต้องปิดงานเป็นบางแผนก หรือปิดทั้งหมดโรงงาน เป็นเวลา 30-60 วัน เป็นการชั่วคราว โดยจ่ายค่าจ้างให้พนักงานร้อยละ 75 ของค่าจ้าง นายจ้างต้องทำหนังสือ และนำรายชื่อพนักงานแจ้งต่อหน่วยงานภาครัฐอย่างไร..?
-
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือ ,รายชื่อพนักงานแจ้งต่อหน่วยงานภาครัฐ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
-
กรณีหน่วยงานภาครัฐสั่งให้องค์กรปิดงานเป็นการชั่วคราว การได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ หรือลูกจ้างจะได้รับสิทธิการว่างงานจากสำนักงานประกันสังคม ต้องดำเนินการอย่างไร..?
-
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือ ,รายชื่อพนักงานแจ้งต่อหน่วยงานภาครัฐ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
-
11. กรณีนายจ้างได้รับผลกระทบจากพิษโควิด-19 ระบาด จนเกิดวิกฤตซึ่งเป็นเหตุสุดวิสัย จึงมี นโยบายปิดงานเป็นบางแผนก เป็นการชั่วคราว โดยนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้างให้เพื่อให้ลูกจ้างได้รับสิทธิการว่างงานจากสำนักงานประกันสังคม ต้องดำเนินการอย่างไร..?
-
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือเป็นประกาศของบริษัทฯ ,รายชื่อพนักงานแจ้งต่อหน่วยงานภาครัฐ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
-
12. กรณีนายจ้างประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจด้วยเหตุโควิด-19 ระบาดทำให้บริษัทฯมียอดขาดทุนสะสมต่อเนื่องหลายเดือนจึงมีนโยบายเลิกจ้างพนักงานนายจ้างต้องออกหนังสือเลิกจ้างและให้เหตุผลในการเลิกจ้าง ต้องแจ้ง, ต้องจ่าย อย่างไร..?
-
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือเลิกจ้างกรณีนี้ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
-
13. กรณีนายจ้างมีนโยบายเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุ ลูกจ้างลางานและหยุดงานมาก หรือหย่อนสมรรถภาพในการทำงาน เพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้าง ฟ้องเรียกค่าใดๆภายหลังได้ นายจ้างต้องแจ้ง, ต้องจ่ายอย่างไร..?
-
มีตัวอย่าง : การออกหนังสือเลิกจ้างกรณีนี้ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา 14. กรณีนายจ้างประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจด้วยเหตุโควิด-19 ระบาดทำให้บริษัทฯมียอดขาดทุนสะสมต่อเนื่องหลายเดือนจึงมี นโยบายให้พนักงานเกษียณอายุในการทำงานก่อนกำหนด นายจ้างต้องกำหนด และสงวนสิทธิในการอนุมัติอย่างไร..? มีตัวอย่าง : การออกหนังสือเกษียณงาน-ใบสมัคร-สิทธิในการอนุมัติตามโครงการ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา 15. ลูกจ้างลาออกจากการเป็นพนักงานของบริษัทฯและจู่ๆก็ฟ้องศาลแรงงานเพื่อเรียกร้อง,ค่าบอกกล่าวล่วงหน้า, ค่าชดเชย, ค่าเสียหาย และบรรยายฟ้องว่าถูกนายจ้างบีบบังคับให้ลาออก เพื่อเป็นการป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลภายหลัง ต้องกำหนดหนังสือลาออก อย่างไร..? มีตัวอย่าง : การออกหนังสือลาออก แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา 16. การออกหนังสือรับเงิน กรณีพนักงานออกจากงาน เพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง ต้องกำหนดข้อความอย่างไร..? มีตัวอย่าง : การออกหนังสือการรับเงิน แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
หมวด 2: เป็นกรณีศึกษาเพื่อแก้ปัญหาด้านแรงงาน
-
กรณีมีพนักงานส่งข้อความโพสต์ลงทาง FACEBOOK-LINE มีข้อความช้ำๆว่าเพื่อนร่วมงานติดเชื้อโควิด-19โดยเป็นข้อมูลอันเป็นเท็จและยังกล่าวให้ร้าย-ด่าทอบริษัทฯต่างๆ นาๆว่าบกพร่องในการบริหารจัดการในการป้องกันโรคโควิด-19ระบาดลูกจ้างจะมีความผิดอย่างไร..? 18. กรณีนายจ้างประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจด้วยเหตุโควิด-19 ระบาดทำให้บริษัทไม่มีงานมีความจำเป็นต้องเลิกจ้างพนักงานที่เป็นลูกจ้างของบริษัทฯoutsource (เลิกจ้างก่อนครบกำหนดตามสัญญาจ้าง) ต้องดำเนินการอย่างไร..?
-
19. ไม่มีงานมีความจำเป็นต้องเลิกจ้างพนักงานตามสัญญาจ้างที่มีระยะเวลากำหนดการจ้างแน่นอน ( เลิกจ้างก่อนครบกำหนดตามสัญญาจ้าง ) เช่น ที่ปรึกษาด้านแรงงาน ที่ปรึกษาด้านกระบวนการผลิต ที่ปรึกษาด้านการตลาด นายจ้างต้องแจ้ง ต้องจ่ายค่าอะไรบ้าง..?
-
20. นายจ้างมีความจำเป็นต้องยุบหน่วยงานตามสาขาต่างๆ จึงมีคำสั่งย้ายพนักงานเข้าทำงานในสำนักงานใหญ่ ในกรณีลูกจ้างฝ่าฝืนไม่ย้ายงานตามคำสั่งจะถือว่าขัดคำสั่งของนายจ้างหรือไม่..หรือลูกจ้างขอลาออกจะต้องแจ้งหรือจะได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างไร..?
-
21. นายจ้างมีความจำเป็นต้องปิดกิจการเพื่อเปลี่ยนนายจ้างใหม่ เปลี่ยนนิติบุคคล กรณีลูกจ้างประสงค์ขอลาออกต้องแจ้งนายจ้างอย่างไร..หรือลูกจ้างบางส่วนทำงานกับนายจ้างใหม่จะได้รับสิทธิอย่างไร..กรณีนายจ้างใหม่ แก้ไขระเบียบขึ้นมาใหม่เมื่อลูกจ้างไม่เห็นด้วยต้องทำอย่างไร..?
-
22. ทำสัญญาจ้างแรงงานปีต่อปีเมื่อครบสัญญาจ้าง 1 ปีแล้วมีการต่อสัญญาจ้างใหม่ และเมื่อสิ้นสุดสัญญาฉบับสุดท้ายแล้วไม่มีการจ้างกัน ต่อไปอีก ลูกจ้างจะได้รับสิทธิตามกฎหมายอะไรบ้าง..?
-
23. ในสัญญาจ้างระบุไว้ว่าในระหว่างเป็นลูกจ้างหรือลูกจ้างออกจากงานไปแล้วภายใน 2 ปี ห้ามมิให้ลูกจ้างไปทำงานให้กับคู่แข่งทางการค้าของนายจ้าง, ห้ามนำความลับทางการค้าของนายจ้างไปเปิดเผยให้กับบุคคลภายนอก,ในกรณีลูกจ้างฝ่าฝืนจะรับผิดชดใช้ค่าเสียหายอย่างไร..?
-
24. เมื่อลูกจ้างลาออกจากงานทำงานอยู่ไม่ครบ 30วันตามที่ระบุไว้ในหนังสือลาออก ถือว่าลูกจ้างผิดสัญญาจ้าง,ผิดข้อบังคับในการทำงาน, ผิดระเบียบปฏิบัติ ลูกจ้างจะรับผิดชดใช้ค่าเสียหายต่อนายจ้างอย่างไร..?
-
25. เลิกจ้างพนักงานเพราะได้รับผลกระทบจากโควิด-19 นายจ้างได้จ่ายค่าจ้าง ค่าชดเชยตามอายุงานตามกฎหมายไปแล้ว กรณีลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานเพื่อเรียกร้องค่าเสียหายจากการถูกเลิกจ้างไม่เป็นธรรม นายจ้างต้องทำอย่างไร..ลูกจ้างมีสิทธิได้รับสิทธิตามฟ้องหรือไม่ เพราะเหตุใด..? 26. กรณีลูกจ้างออกจากงานนายจ้างไม่ออกใบสำคัญแสดงการทำงานให้กับลูกจ้างจะมีความผิดชดใช้ค่าเสียหายต่อลูกจ้างอย่างไร..?
-
27. เมื่อลูกจ้างออกจากงาน ลาออก ถูกเลิกจ้าง สิ้นสุดระยะเวลาการจ้าง ไม่ผ่านการทดลองงาน เกษียรงานตามโครงการ วันลากิจได้รับค่าจ้างวันลาพักผ่อนวันลาพักผ่อนที่สะสมไว้ กรณีดังกล่าวลูกจ้างจะได้รับสิทธิอย่างไร..?
-
28. เมื่อลูกจ้างลาออก นายจ้างเลิกจ้าง นายจ้างไล่ออก จะได้รับสิทธิประกันการว่างงานจากสำนักงานประกันสังคมในอัตรา ต่างกันอย่างไร..?
-
29. กรณีลูกจ้างออกจากงานไปแล้วได้ร้องทุกข์ต่อสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานเขตพื้นที่เพื่อเรียกร้องสิทธิต่างๆ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาให้ข้อพิพาทแรงงานตกลงกันได้ด้วยดี นายจ้างหรือผู้บริหารงานบุคคล ต้องเปิดช่องเพื่อเจรจา เพื่อไกล่เกลี่ย และเตรียมความพร้อมรับมืออย่างไร..?
-
30. กรณีลูกจ้างออกจากงานไปแล้วได้ฟ้องบริษัทฯที่ศาลแรงงานเขตพื้นที่ เพื่อเรียกร้องสิทธิต่างๆ นายจ้างหรือผู้บริหารงานบุคคลจะนำเสนอเหตุผลต่อผู้ประนอมคดี หรือการเปิดช่องเพื่อเจรจา เพื่อไกล่เกลี่ยปัญหา ต้องใช้เทคนิคอย่างไร..?
-
ถาม – ตอบ – แนะนำ
-
ผู้เข้ารับการอบรม นายจ้าง ผู้บริหารงานบุคคล บุคคลทั่วไป
-
ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดการไม่มีค่าใช้จ่าย