Online Zoom หลักสูตร PDPA พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฝ่ายการตลาด อบรม 18 มิ.ย.65 อ.พลกฤต
Online Zoom หลักสูตร PDPA พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฝ่ายการตลาด อบรม 18 มิ.ย.65 อ.พลกฤต
ราคาหลักสูตรออนไลน์
ราคาท่านละ 2,500 บาท (ไม่รวม VAT)
โปรโมชั่น
ลงทะเบียนพร้อมกัน 4 ท่านขึ้นไป เหลือ ท่านละ 1,900
เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลนั้น เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเก็บรักษาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของลูกค้า ข้อมูลของลูกจ้าง หากข้อมูลเหล่านี้ถูกเผยแพร่โดยไม่ได้รับการอนุญาต จะส่งกระทบกับการชดเชยค่าสินไหม ต่างๆเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้ประกอบการจำเป็นต้องควรระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลพระราชบัญญัติฉบับนี้ของผู้ควบคุมส่วนบุคคล
(Objective)
-
เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมเข้าใจในพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562
2. เพื่อให้เข้าอบรมเข้าใจในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล การเผยแพร่ข้อม ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคล
วัตถุประสงค์
-
เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลนั้น เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเก็บรักษาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของลูกค้า ข้อมูลของลูกจ้าง หากข้อมูลเหล่านี้ถูกเผยแพร่โดยไม่ได้รับการอนุญาต จะส่งกระทบกับการชดเชยค่าสินไหม ต่างๆเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้ประกอบการจำเป็นต้องควรระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลพระราชบัญญัติฉบับนี้ของผู้ควบคุมส่วนบุคคล (Objective)
-
เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมเข้าใจในพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562
-
เพื่อให้เข้าอบรมเข้าใจในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล การเผยแพร่ข้อม ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคล
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)
-
พนักงาน หัวหน้างาน ฝ่ายขาย ฝ่ายการตลาด จัดซื้อ IT หรือผู้ที่สนใจ
หัวข้ออบรม 09.00-16.00
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)1. เหตุผลและความเป็นมาของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562จะมีผลบังคับใช้ ในปี พ.ศ.2564 พนักงาน ต้องเตรียมความพร้อม และรับมืออย่างไร..ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลข้อมูลส่วนบุคคลที่กฎหมายคุ้มครองมีอะไรบ้างข้อมูลส่วนบุคคลที่ต้องคุ้มครอง กับข้อมูลที่ต้องยกเว้นตาม พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล2. สาระสำคัญของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล“ข้อมูลส่วนบุคคล” คืออะไรและใครคือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหมายถึงอะไร มีวิธีปฏิบัติอย่างไรมีข้อยกเว้นอย่างไร?ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล(Controller) ผู้ประมวลข้อส่วนบุคคล(Processor) และเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)คือใคร ?มีบทบาทหน้าที่อย่างไร?สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลหลักการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ในการเก็บข้อมูล ใช้ข้อมูล เปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบตามกฎหมาย ทั้งโทษทางแพ่ง โทษทางอาญา และโทษปรับทางปกครอง3. ขอบเขตการใช้บังคับบริษัทในประเทศไทย บริษัทในต่างประเทศที่มีการบริการลูกค้าในไทย ต้องปรับตัวอย่างไรเพื่อรองรับการปฏิบัติตามกฎหมายนี้4. สิ่งที่องค์กรควรเตรียมความพร้อม เมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้5.หน่วยงานใดในองค์กรเกี่ยวข้องกับ PDPA บ้าง?HR –การเก็บข้อมูลพนักงาน ใบสมัครงาน กรณีเก็บข้อมูลบัตรประชาชน การติดตั้งกล้องถ่ายภาพ ถ่ายวีดีโอ เป็นต้นLegal and Compliance- การทำสัญญา ข้อตกลง นโยบายความเป็นส่วนบุคคลIT- ต้องจัดหาโปรแกรมการรักษาความปลอดภัยตามมาตรฐานขั้นต่ำ ระบบสมาชิก เว็บไซด์ต่างๆของบริษัทMarketing-การใช้ข้อมูลในการทำการตลาด การประชาสัมพันธ์Sale –การเก็บข้อมูลของลูกค้าและข้อมูลการติดต่อบุคคลPurchase – การเก็บข้อมูลบุคคลที่ติดต่อในการจัดซื้อจัดจ้างฝ่ายผลิต – กรณีต้องใช้ข้อมูลเพื่อวัตถุประสงค์อื่นต้องทำหนังสือขอเป็นลายลักษณ์อักษร หรือกรณีใช้ติดต่อดำเนินการเพื่อประโยชน์บริษัทไม่ต้องขออนุญาตฝ่ายประกันคุณภาพ ข้อมูลบุคคลที่ต้องมีการติดต่อ ต้องเก็บเป็นความลับ ห้ามใช้นอกเหนือจากเรื่องการทำงานคลังสินค้า – ข้อมูลติดต่อรับสิ้นค้า หรือส่งสินค้าใช้เฉพาะในการดำเนินการปกติเท่านั้น ห้ามให้ข้อมูลผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาตฝ่ายบัญชี-การเงิน -ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบุคลเพื่อใช้จ่ายหนี้สิน และประสานงานกับ Supplier ใช้ตามปกติ ห้ามให้ข้อมูลผู้อื่น ยกเว้นข้อมูลพนักงานที่ต้องนำส่งสรรพากร ติดต่อราชการในกิจการ เท่านั้น6. แนวปฏิบัติเพื่อการประเมินผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Guideline on Data Protection Impact Assessment) ตามขอบเขตของDPIA7. กรณีศึกษา/ตัวอย่างนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Policy)8. กรณีศึกษา/ตัวอย่างเอกสารแจ้งข้อมูลการประมวลผลข้อมูล (Privacy Notice)จัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน(Personal Information) ของฝ่ายHR9. ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานและเอกสารอะไรบ้างในฝ่ายบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับนี้10. ใบสมัครงาน สัมภาษณ์งานและการจ้างงานมีอะไรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน11. จะกำหนดนโยบาย/ระเบียบปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานอย่างไร12. บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติสำหรับนายจ้าง และฝ่ายบุคคล ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตั้งแต่การกำหนดนโยบาย แนวปฏิบัติ การกำหนดเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล/การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลขององค์กรนายจ้างมีสิทธิเรียก เก็บรักษา ใช้ ข้อมูลของพนักงานได้ทุกกรณีหรือไม่? ข้อมูลใดเรียกเก็บได้ ข้อมูลใดเรียกเก็บไม่ได้?
|