Public Training เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร การกำหนดเป้าหมายการทำงานแบบ SMART Goal Setting ด้วย KPI และ Effective Action Plan รุ่น 18 (KPI & Effective Action Plan : PMS Module 1) : 10 สิงหาคม 2565
Public Training เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร การกำหนดเป้าหมายการทำงานแบบ SMART Goal Setting ด้วย KPI และ Effective Action Plan รุ่น 18 (KPI & Effective Action Plan : PMS Module 1) : 10 สิงหาคม 2565
การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและการแข่งขันอย่างรุนแรงในปัจจุบัน องค์การจะเติบโตอย่างยั่งยืนได้ต้องมีเป้าหมายหรือ KPI ที่ชัดเจนเป็นเข็มทิศในการดำเนินงาน ต้องวางแผนกลยุทธ์ (Strategics Plan) และแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) ให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ KPI อย่างเป็นระบบ แต่ในการจัดทำและนำ KPI ไปใช้งานจริง หลายองค์กรมักจะพบกับประเด็นคำถามที่ว่า
-
KPI ก็กำหนดแล้ว แต่ไม่รู้จะเชื่อมโยงไปสู่กลยุทธ์ขององค์การอย่างไรดี ?
-
KPI ของฝ่ายขาย ฝ่ายผลิต ก็ง่ายนะสิมีตัวเลขวัดได้ชัดเจน แล้วฝ่ายสำนักงานหรือสายสนับสนุน (Back Office) จะกำหนด KPI อย่างไรชัดเจนเป็นรูปธรรมให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กรดีล่ะ ?
-
แล้ว KPIs ในระบบ ISO9001 / IATF16949 ที่มี จะเชื่อมโยงเป็นเป้าหมายขององค์กรได้ไหม ?
-
แล้วตัวชี้วัดและเป้าหมายรายบุคคลของแต่ละตำแหน่งงานล่ะ จะกำหนดจากอะไรดี ?
-
จะเชื่อมโยง KPI ไปสู่แผนปฏิบัติงานอย่างไรดี ?
หลักสูตรฝึกอบรมนี้มีคำตอบจากประสบการณ์ตรงของวิทยากรและที่ปรึกษาด้าน KPI Management กว่า 18 ปี ที่ช่วยให้ท่านเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารและจัดการ KPI Management แบบครบวงจรทั้ง…การกำหนดเป้าหมายแบบมืออาชีพ…การกระจายเป้าหมายสู่หน่วยงานและตำแหน่ง…การจัดทำแผนงานให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ KPI…การควบคุมและติดตาม KPI อย่างเป็นระบบ ทั้งแบบฟอร์มและตัวอย่าง รวมทั้ง Workshop ฝึกปฏิบัติที่สามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้จริง
สิ่งที่จะได้รับจากการอบรม
-
สามารถอธิบายหลักการ แนวคิด ขั้นตอน วิธีการ และเทคนิคการกำหนด KPI สมัยใหม่ได้
-
เสริมสร้างความตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการนำ KPI ในการดำเนินงานขององค์กร
-
จุดประกายความคิดในการมองเห็นความเชื่อมโยงของ KPI กับกลยุทธ์ขององค์กร
-
เสริมสร้างเทคนิคในการกระจาย KPI ตามยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ สู่การกำหนด KPI ของหน่วยงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
สามารถกำหนด Functional KPIs ของหน่วยงานให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ Corporate KPIs ได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
-
ทราบถึงแนวทางการเชื่อมโยง KPI ของแต่ละหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานซึ่งกันและกัน
-
สามารถกำหนด Position KPIs ของทีมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเชื่อมโยงกับเป้าหมายองค์กร
-
สามารถจัดทำ Action Plan ให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ KPI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปออกแบบและจัดทำ KPI และ Action ได้อย่างเป็นรูปธรรมและเชื่อมโยงกับเป้าหมายองค์กร
หัวข้อสำคัญที่ท่านจะได้เรียนรู้
ส่วนที่ 1 : แนวคิดและหลักการของ Key Performance Indicators (KPI Introduction)
-
ศัพท์น่ารู้ที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับ KPI
-
KPI คือ อะไร ?
-
ความสำคัญและประโยชน์ของ KPI ในการนำไปใช้งานในการบริหารองค์กร
-
4 หลักสำคัญในการออกแบบ KPI ให้มีประสิทธิผล เช่น SMART GOAL
-
KPIs ในองค์กรที่ดีควรมี 4 ระดับ
-
Workshop 1 : ปัญหาที่พบในการจัดทำ KPI และแนวทางป้องกัน/แก้ไข
ส่วนที่ 2 : แนวทางการออกแบบและกำหนดตัวชี้วัดระดับองค์การ (Corporate KPIs)
-
การกำหนด Corporate KPIs ด้วย Balance Scorecard เพื่อวัดผลการดำเนินงานทางธุรกิจขององค์กร
-
ตัวอย่างที่ 1 : แบบฟอร์มในการกำหนด Corporate KPIs ในการกำหนด Objective และ Key Performance / Key Result ขององค์กร
-
ตัวอย่างที่ 2 : ตัวชี้วัดระดับองค์กร (Corporate KPIs)
-
ขั้นตอนและวิธีการกำหนดและกระจายตัวชี้วัดระดับองค์กร (Corporate KPIs) สู่ตัวชี้วัดผลลัพธ์ระดับฝ่าย/แผนก (Functional KPIs) ให้เชื่อมโยงสอดคล้องกันทั้งองค์กร
-
ตัวอย่างที่ 3 : แบบฟอร์มการกระจายเป้าหมายองค์กรสู่เป้าหมายหน่วยงาน
ส่วนที่ 3 : เทคนิคการออกแบบและกำหนดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน (Functional KPIs) แบบ SMART Goal ให้สอดคล้องกับ Corporate KPIs
-
วิธีการกำหนดตัวชี้วัดผลงานของแต่ละฝ่ายงาน (Functional KPIs) แบบ SMART Goal ให้เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ (Vision) วัตถุประสงค์ (Objective) และตัวชี้วัดขององค์กร (Corporate KPIs)
-
Workshop 2 : ฝึกปฏิบัติออกแบบและกำหนด Functional KPIs ของแต่ละหน่วยงาน แบบ SMART Goal ให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ KPI องค์กร
-
ตัวอย่างที่ 4 : แบบฟอร์มการกำหนดเป้าหมายหน่วยงาน ให้เชื่อมโยงกับ KPI องค์กร (Performance Agreement)
-
PQQCDSSMEEI ปัจจัยยอดนิยมในการกำหนด KPIs
-
ตัวอย่างที่ 5 : Functional KPIs ของหน่วยงานต่างๆ ในองค์กร
ส่วนที่ 4 : เทคนิคการออกแบบและกำหนดตัวชี้วัดระดับตำแหน่งรายบุคคล (Position / Individual KPIs)
-
4 เครื่องมือในการวิเคราะห์และกำหนด Position KPIs
-
ขั้นตอนและวิธีการกำหนด Position KPIs ตามตำแหน่งจากใบกำหนดหน้าที่งานยุคใหม่ (Job Description)
-
ตัวอย่างที่ 6 : ใบกำหนดหน้าที่งานยุคใหม่ (Job Description Version 4) ที่มี KPI สอดคล้องกับงาน
-
Workshop 3 : ฝึกปฏิบัติออกแบบและกำหนด Position KPIs ให้สอดคล้องกับงานตาม Job Description Version 4
ส่วนที่ 5 : เทคนิคการจัดทำแผนปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Action Plan) ให้สอดคล้องกับ KPI
-
ความสัมพันธ์ของ KPI กับแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) กับแผนกลยุทธ์ (Strategic Plan)
-
กุญแจทองสำคัญ 3 ดอก ในการจัดทำแผนปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
-
ขั้นตอนการจัดทำแผนการปฏิบัติงานแบบ PDCA
-
ตัวอย่างที่ 7 : แบบฟอร์มแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) สมัยใหม่ที่มีทั้ง KPI และ PI
-
Workshop 4 : ฝึกปฏิบัติจัดทำแผนปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ KPI
วิธีการ/รูปแบบในการเรียนรู้
o การบรรยาย (Lecture) ในรูปแบบการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ (Adult Learning) ที่มีความรู้และประสบการณ์ โดยมุ่งเน้นการกระตุ้น/ระดมความคิดแบบมีส่วนร่วมระหว่างฝึกอบรม (Participative Techniques)
o การจัดทำ Workshop ฝึกปฏิบัติ และการนำเสนองาน
-> ออกแบบและกำหนด Functional KPIs ของหน่วยงานให้เชื่อมโยงกับ KPI องค์กร
-> ออกแบบ และจัดทำ Position KPIs ของตำแหน่งงาน
-> เขียน Action Plan ให้เชื่อมโยงกับ KPI
o การตอบข้อซักถาม
หลักสูตรนี้เหมาะสมสำหรับ
เจ้าของกิจการ ผู้บริหารระดับสูง QMR ผู้จัดการฝ่าย หัวหน้าแผนก เจ้าหน้าที่ และผู้สนใจทั่วไป
วิทยากร : อาจารย์ ธนุเดช ธานี (อ.ต้น)
-
วิทยากรและที่ปรึกษาผู้ชำนาญการพิเศษด้าน HR จากประสบการณ์ 32 ปี และประสบการณ์ KPI Management 18 ปี
-
วิทยากรพิเศษด้าน HRD ของ SGS ACADEMY
-
วิทยากรพิเศษด้าน HRD คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
-
อดีตกรรมการสมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย (PMAT) 2 สมัย
วันและเวลาสัมมนา :
รุ่นที่ 18 วันที่ 10 สิงหาคม 2565 ระหว่างเวลา 09.00-16.00 น.