Public Training การประเมินผลการปฏิบัติงานยุคใหม่ ด้วย KPI และ Competency รุ่นที่ 23 (Performance Appraisal : PMS Module 2) : 24 สิงหาคม 2565
Public Training การประเมินผลการปฏิบัติงานยุคใหม่ ด้วย KPI และ Competency รุ่นที่ 23 (Performance Appraisal : PMS Module 2) : 24 สิงหาคม 2565
การประเมินผลยุคปัจจุบันเน้นเรื่อง Performance / Results และ Competency แต่ก็ยังประสบกับปัญหาเหล่านี้ ?
-
บุคลากรยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System)
-
เลือกไม่ถูกว่าจะประเมินผลด้วย OKR หรือ KPI ดี ???
-
ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators และ Performance Indicators ได้
-
ในการกำหนดหัวข้อประเมินผลไม่สามารถกำหนดได้ว่า อะไรคือ KPI (Key Performance Indicators) อะไรคือ PI (Performance Indicators) ?
-
แยกไม่ออกระหว่าง Performance กับ Competency
-
จะประเมิน Competency ก็มีแต่พฤติกรรมที่จับต้องได้ยาก จะมีการประเมิน Competency ที่ชัดเจนได้อย่างไร ?
-
ประเมินผลว่ายากแล้วแต่ Performance Feedback ยิ่งยากกว่า จะ Feedback อย่างไรให้เป็นธรรมและได้รับการยอมรับจากลูกน้อง ?
-
ประเมินผลแล้ว ไม่รู้จะนำผลการประเมินไปใช้เชื่อมโยงกับการพัฒนาบุลากรได้อย่างไร ?
หากองค์กรของท่านกำลังประสบกับปัญหาดังกล่าวข้างต้น จนก่อให้เกิดอาการอื่นๆ ของปัญหาการจัดการตามมา อาทิเช่น การประเมินผลไม่เป็นธรรม พนักงานไม่ยอมรับผลการประเมิน หัวหน้ารู้สึกอัดอัดเวลาแจ้งผลงานลูกน้อง ขวัญกำลังใจพนักงานตกต่ำ พนักงานกลุ่ม Talent ทยอยลาออก ฯลฯ
หลักสูตรที่เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ และฝ่ายทรัพยากรบุคคลไม่ควรพลาด ท่านจะได้เรียนเทคนิค ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานยุคใหม่แบบครบวงจร ที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาขึ้นจากประสบการณ์ตรงของวิทยากรในการเรียนรู้ที่ “กระชับ เข้าใจง่าย และนำไปใช้ปฏิบัติได้จริง”
วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม
-
สามารถอธิบายแนวคิด หลักการ กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ (Modern Performance Management Process) และ KPIs ได้
-
สามารถแยกความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง KPIs กับ OKRs ได้
-
สามารถกำหนด Key Performance Indicators (KPIs) ในการประเมินผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายองค์กร และงานที่รับผิดชอบ
-
สามารถอธิบายและแยกแยะความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators, Performance Indicators และ Competency ได้อย่างชัดเจน
-
สามารถกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีสมัยใหม่ ด้วย KPI และ Competency ได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม
-
เสริมสร้างเทคนิคการให้ Performance Feedback อย่างมีประสิทธิภาพ
-
สามารถนำผลการประเมินไปใช้ในการบริหารผลงานได้อย่างเป็นระบบ
หัวข้อสำคัญที่ท่านจะได้เรียนรู้ :
ส่วนที่ 1 : ปฐมบทเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ (Introduction to Modern Performance Appraisal)
-
ความเชื่อมโยงของการประเมินผลการปฏิบัติงานกับระระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS)
-
6 ขั้นตอนสำคัญของระบบบริหารผลการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธ์ (Strategic Performance Management Process)
-
Key Performance Indicators และ Competency เครื่องมือและเกณฑ์ในการประเมินผลยุคใหม่
-
แนวทางการกำหนดปัจจัยและค่าน้ำหนักความสำคัญในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปียุคใหม่
ส่วนที่ 2 : ความเหมือนที่แตกต่าง และความแตกต่างที่เหมือนกัน ของ KPIs (Key Performance Indicators) กับ OKRs (Objective and Key Results)
-
ความเหมือนที่แตกต่างของ KPIs กับ OKRs
-
ความแตกต่างที่เหมือนกันของ KPIs กับ OKRs
-
ถ้า OKRs ไม่นิยมใช้ประเมินผล แล้วองค์กรที่ใช้ OKRs ใช้เครื่องมือใดในการประเมินผล ???
ส่วนที่ 3 : เทคนิคการกำหนด KPIs ในการประเมินผลการปฏิบัติงานให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ Vision และ Objective (KPIs for Performance Appraisal)
-
ประเภทของ KPI
-
การกำหนด Corporate KPIs ด้วย Balance Scorecard (BSC) เพื่อวัดผลการดำเนินงานทางธุรกิจขององค์กร
-
แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายขององค์กร (Corporate KPIs)
-
แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดผลงานของแต่ละฝ่ายงาน (Functional KPIs) ให้เชื่อมโยงกับนโยบาย (Policy) วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมายองค์กร (Corporate KPIs)
-
Workshop 1 : ฝึกปฏิบัติกำหนด Functional KPIs ของฝ่ายงาน ให้เชื่อมโยงกับ Objective และเป้าหมายองค์กร (Corporate KPIs)
-
แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของตำแหน่งงาน (Position KPIs / Individual KPIs)
-
ความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators กับ Performance Indicators
-
แนวทางการออกแบบและเชื่อมโยง KPIs สู่การประเมินผลงาน
-
Workshop 2 : ฝึกปฏิบัติออกแบบประเมินผลการปฏิบัติงานด้วย KPI ของแต่ละตำแหน่งงาน
ส่วนที่ 4 : วิธีกำหนดและเชื่อมโยง Competency สู่การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Competency for Performance Appraisal)
-
ประเภทของ Competency และเครื่องมือในการกำหนด Competency
-
ความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators กับ และ Competency
-
แนวทางการกำหนด Competency ในการประเมินขีดความสามารถจาก Job Description Version 4
-
แนวทางการแปลง Competency จาก Training Road Map สู่การประเมินความสามารถประจำปีที่สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร
-
ตัวอย่างการแปลง Competency จาก Training Road Map สู่การประเมินความสามารถที่สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร
ส่วนที่ 5 : แนวทางในการประเมินผลงานอย่างเป็นธรรมและได้รับการยอมรับ
-
แนวทางการประเมินผลงานอย่างเป็นธรรมและได้รับการยอมรับ
-
กระบวนการในการประเมิน และ Feedback ผลการปฏิบัติงานลูกน้องอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 6 : แนวทางการแจ้งผลการปฏิบัติงาน (Positive Feedback) ให้ได้ทั้งใจและได้ทั้งงานจากลูกน้อง
-
เทคนิคการแจ้งผลงาน (Positive Feedback) แบบได้ทั้งใจ และได้ทั้งผลงานจากลูกน้อง
ส่วนที่ 7 : การนำผลการประเมินไปปรับใช้งานเชื่อมโยงกับ Human Resources System
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการปฏิบัติงานกับแผนพัฒนารายบุคคล (Performance Appraisal linked to Individual Development Plan : IDP)
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ Training Road Map และ Career Path
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ Succession Plan ด้วย Competency และ KPI
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับการปรับค่าจ้างประจำปียุคใหม่ แบบอิงเกรด ไม่อิง Bell Curve
รูปแบบและวิธีการเรียนรู้ :
-
การบรรยาย แบบ Adult Learning
-
ประกอบการแชร์ประสบการณ์ตรง
-
การทำ Workshop ในการปฏิบัติจริง
-
การระดมความคิด นำเสนอผลงาน
-
การถามตอบ
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ :
เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ หัวหน้าแผนก ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้สนใจทั่วไป
วิทยากร (Trainer) : อาจารย์ ธนุเดช ธานี (อ.ต้น)
- กรรมการผู้จัดการสถาบันฝึกอบรม People Develop Center
- วิทยากรและที่ปรึกษาผู้ชำนาญการพิเศษด้าน HR จากประสบการณ์ 32 ปี
- วิทยากรพิเศษด้าน HRD ของ SGS ACADEMY
- วิทยากรพิเศษด้าน HRD คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
- อดีตกรรมการสมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย (PMAT) 2 สมัย
วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME) :
รุ่นที่ 23 วันที่ 24 สิงหาคม 2565 ระหว่างเวลา 09.00-16.00 น.
สถานที่อบรม (VENUE) :
โรงแรม St.James (สุขุมวิท 26 ) สถานีพร้อมพงษ์
ค่าลงทะเบียนอบรม
3,500 บาท/ท่าน เมื่อชำระค่าลงทะเบียนล่วงหน้า 7 วันทำการ (ปกติ 4,000 บาท/ไม่รวม Vat)
พิเศษลงทะเบียน 5 ท่าน ชำระเพียง 4 ท่าน