เรียนออนไลน์ เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล งานฝ่ายขาย เเละการตลาด อบรม 3 ก.พ.64
เรียนออนไลน์ เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล งานฝ่ายขาย เเละการตลาด อบรม 3 ก.พ.64
สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM
ราคาท่านละ 1,900 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)
อาจารย์พลกฤต โสลาพากุล
วิทยากร โค้ช และที่ปรึกษาธุรกิจ
หลักการและเหตุผล (Introduction)
เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลนั้น เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเก็บรักษาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของลูกค้า ข้อมูลของลูกจ้าง หากข้อมูลเหล่านี้ถูกเผยแพร่โดยไม่ได้รับการอนุญาต จะส่งกระทบกับการชดเชยค่าสินไหม ต่างๆเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้ประกอบการจำเป็นต้องควรระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลพระราชบัญญัติฉบับนี้ของผู้ควบคุมส่วนบุคคล
(Objective)
-
เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมเข้าใจในพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562
-
เพื่อให้เข้าอบรมเข้าใจในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล การเผยแพร่ข้อม ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคล
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)
-
ผู้นำทุกระดับ หรือผู้ที่สนใจ
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)
-
1. ข้อมูลส่วนบุคคลที่กฎหมายคุ้มครองมีอะไรบ้างและข้อมูลที่ต้องยกเว้นตาม พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
-
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหมายถึงอะไร มีวิธีปฏิบัติอย่างไรมีข้อยกเว้นอย่างไร?
-
หน่วยงานใดในองค์กรเกี่ยวข้องกับPDPAบ้าง?
-
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล(Controller) ผู้ประมวลข้อมูลส่วนบุคคล(Processor) และเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล (DPO)คือใคร? มีบทบาทหน้าที่อย่างไร?
-
แนวปฏิบัติเพื่อการประเมินผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Guideline on Data Protection Impact Assessment) ตามขอบเขตของDPIA
-
กรณีศึกษา/ตัวอย่าง เอกสารแจ้งข้อมูลการประมวลผลข้อมูล (Privacy Notice)
-
ผลกระทบและการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน(Personal Information)ของฝ่ายHR
-
ข้อมูลส่วนบุคลของพนักงานและเอกสารอะไรบ้างในฝ่ายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับนี้
-
ใบสมัครงาน สัมภาษณ์งานและการจ้างงานมีอะไรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน
-
จะกำหนดนโยบาย/ระเบียบปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานอย่างไร
-
นายจ้างมีสิทธิเรียกเก็บรักษา ใช้ข้อมูลของพนักงานได้ทุกกรณีหรือไม่? ข้อมูลใดเรียกเก็บได้ ข้อมูลใดเรียกเก็บไม่ได้?
-
ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน กรณีใด/ประเภทใดบ้าง ต้องขอความยินยอม กรณีใด/ประเภทใด ไม่ต้องขอความ ยินยอมตาม พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
-
เทคนิควิธีการดำเนินการด้านขอความยินยอม จากลูกจ้างเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อใช้ในการปฏิบัติตามสัญญา จ้างแรงงาน
-
Data Privacy Policy คืออะไร? และกรณีศึกษา/ตัวอย่าง การร่างนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (ในทาง HR MKT ) สำหรับลูกค้าและพนักงาน
-
บริษัทจะแจ้ง Data Privacy Policyให้พนักงาน/ลูกค้าทราบได้ด้วยวิธีใดได้บ้าง?
-
พนักงานหรือลูกค้าจะยกเลิกการให้ความยินยอม ทำได้หรือไม่ มีวิธีการอย่างไร และต้องให้นายจ้างตกลงยอมให้ ยกเลิกด้วยหรือไม่?
-
พนักงานหรือลูกค้าสามารถปฏิเสธการให้ข้อมูลหรือขอลบข้อมูลบางส่วนได้หรือไม่?
-
การสแกนลายนิ้วมือพนักงาน เพื่อใช้ในการบันทึกการมาท างานและควบคุมบุคคลเข้า-ออกสำนักงานเป็นข้อมูลส่วน บุคคลหรือไม่และจะต้องจัดการข้อมูลเหล่านี้อย่างไร
-
ข้อมูลการลาต่างๆ เป็นข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่และจะต้องจัดการข้อมูลเหล่านี้อย่างไร
-
มีธนาคารโทรมาเช็คข้อมูลพนักงาน หรือมีบริษัทอื่นโทรมาสอบถามเพื่อทำ Reference Check พนักงานหรือลูกค้าที่ ออกไปแล้วหรือเป็นลูกค้าเก่า สามารถให้ข้อมูลได้หรือไม่?
-
อะไรคือสิ่งที่จำเป็นต้องรู้เมื่อลูกค้าเข้ามารับบริการ และกรณีลูกค้าไม่ยินยอมเซ็น Consent สามารถให้บริการได้ไหม ทำอย่างไรได้บ้าง
-
พนักงานที่ต้องประสานงานกับลูกค้าจำเป็นต้องรู้และระวังในเรื่องใดบ้าง อย่างไร
-
วิธีจัดการข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า ทั้ง Hard copy และ Soft copy ในระบบ เช่นสำเนาบัตรประชาชน ใบขับขี่ เช่นเมื่อ ได้มาต้องจัดการเก็บอย่างไร เก็บได้แบบไหนบ้าง เก็บได้กี่ปี
ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)
-
00-16.00 น.
รูปแบบการการอบรม (Methodology)
-
การบรรยาย กิจกรรมกลุ่ม กรณีศึกษา VDO และ การนำเสนอ