เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร PDPA พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) อบรม 20 เม.ย.65 อ.พลกฤต

เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร PDPA พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) อบรม 20 เม.ย.65 อ.พลกฤต

 

สามารถจัดได้ 2 รูปเเบบ Online Zoom/ONSITE

ราคาที่ 1 รูปเเบบ ออนไลน์ ผ่านโปรเเกรม zoom

ราคาโปรโมชั่น ท่านละ 2,000 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

  • สมัครเข้าอบรม 4 ท่าน ชำระเพียง 3 ท่าน

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) ใบประกาศผ่านการอบรม

2) ไฟล์ PDF การสอน

หลักสูตรนี้มีคำตอบ ที่นี่ที่เดียว
สนใจสมัครเพื่อรับองค์ความรู้ได้ที่ คุณกุ้ง 0988209929 คุณกุ้ง

 

 

หลักการและเหตุผล (Introduction)

เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลนั้น เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเก็บรักษาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของลูกค้า ข้อมูลของลูกจ้าง หากข้อมูลเหล่านี้ถูกเผยแพร่โดยไม่ได้รับการอนุญาต จะส่งกระทบกับการชดเชยค่าสินไหม ต่างๆเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้ประกอบการจำเป็นต้องควรระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลพระราชบัญญัติฉบับนี้ของผู้ควบคุมส่วนบุคคล

 

วัตถุประสงค์(Objective)

1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

2. เพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการเตรียมความพร้อมของนายจ้าง /HRเพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขตามกฎหมาย การให้ความยินยอม กระบวนการเพื่อรองรับการใช้สิทธิอื่น ๆ ของเจ้าของข้อมูล

3. รูปเเบบฟอร์ม นายจ้าง /HR /ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายขาย สามารถจัดทำนโยบาย และกำหนดกระบวนการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน (Personal Information) ให้สอดคล้องกับกฏหมายได้

 

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

  1. ความหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562

  2. นิยามศัพท์ของ “ข้อมูลส่วนบุคคล” “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” และ “เจ้าของข้อมูล”

  3. การจัดเก็บข้อมมูล การเผยแพร่ข้อมูล

  4. ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล

  5. แนวทางการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องปฏิบัติอย่างไร ผู้ใช้จะต้องมีความรับผิดชอบแบบไหน

  6. มาตรการการควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล อ้างอิงจากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562

  7. ความต้องการใช้ข้อมูลประเด็นที่เกี่ยวกับนายจ้าง และลูกจ้าง ต้องปฏิบัติอย่างไร

  8. ความรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และบทลงโทษ ในการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล

  9. การจ่ายค่าสินไหม โทษปรับต่างๆ

  10. จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

  11. ผลกระทบและการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน(Personal Information) ของฝ่ายHR

  12. ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานและเอกสารอะไรบ้างในฝ่ายบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับกฏหมายฉบับนี้

  13. ใบสมัครงาน สัมภาษณ์งานและการจ้างงานมีอะไรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน

  14. จะกำหนดนโยบาย/ระเบียบปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานอย่างไร

  15.  บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติสำหรับนายจ้าง และฝ่ายบุคคล ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตั้งแต่การกำหนดนโยบาย แนวปฏิบัติ การกำหนดเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล/การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลขององค์กร

    • นายจ้างมีสิทธิเรียก เก็บรักษา ใช้ ข้อมูลของพนักงานได้ทุกกรณีหรือไม่? ข้อมูลใดเรียกเก็บได้ ข้อมูลใดเรียกเก็บไม่ได้?

    • ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน กรณีใด/ประเภทใดบ้าง ต้องขอความยินยอม กรณีใด/ประเภทใด ไม่ต้องขอความยินยอมตามพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

    • เทคนิควิธีการดำเนินการด้านขอความยินยอม จากลูกจ้างเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อใช้ในการปฏิบัติตามสัญญาจ้างแรงงาน

    • HR Privacy Policyคืออะไร?และกรณีศึกษา/ตัวอย่าง การร่างนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (HR Privacy Policy)สำหรับพนักงาน

    • บริษัทจะแจ้งHR Privacy Policyให้พนักงานทราบได้ด้วยวิธีใดได้บ้าง?

    • กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การจัดทำหนังสือขอให้ลูกจ้างส่งข้อมูลส่วนบุคคล

    • กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การปรับปรุงสัญญาจ้าง

    • ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน แบบฟอร์มเอกสารที่เกี่ยวข้องในฝ่ายบุคคล

    • ถาม-ตอบ แลกเปลี่ยนปัญหาการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)

  • 00-14.00 น.

รูปแบบการการอบรม (Methodology)

  • การบรรยาย กิจกรรมกลุ่ม การนำเสนอ

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

www.tesstraining.com

www.inwtraining.com

Scheduled Public PUBLIC ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ผู้นำ