Online Zoom หลักสูตร การประเมินผลการปฏิบัติงานยุคใหม่ ด้วย KPI และ Competency (Performance Appraisal : PMS Module 2) : 26 กรกฎาคม 2564
Online Zoom หลักสูตร การประเมินผลการปฏิบัติงานยุคใหม่ ด้วย KPI และ Competency (Performance Appraisal : PMS Module 2) : 26 กรกฎาคม 2564
ราคาโปรโมชั่น ท่านละ 2,500 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)
สมัคร 3 ท่าน เข้าอบรม 4 ท่านเเถม 1 ค่ะ
วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม
-
เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวคิด และความสำคัญของกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ (Modern Performance Management Process)
-
สามารถแยกความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง KPI กับ OKR ได้
-
สามารถกำหนด Key Performance Indicators (KPIs) ในการประเมินผลงานให้สอดกับเป้าหมายองค์กรและงานที่รับผิดชอบ
-
สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators, Performance Indicators และ Competency ได้อย่างชัดเจน
-
สามารถกำหนดหลักเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีสมัยใหม่ได้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ด้วย KPI และ Competency
-
เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับ Performance Feedback ที่มีประสิทธิภาพ
-
สามารถนำผลการประเมินไปใช้ในการบริหารผลงานได้อย่างเป็นระบบ
หัวข้อสำคัญที่ท่านจะได้เรียนรู้ :
ส่วนที่ 1 : ปฐมบทเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ (Introduction to Modern Performance Appraisal)
-
ความเชื่อมโยงของการประเมินผลการปฏิบัติงานกับระระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS)
-
6 ขั้นตอนสำคัญของระบบบริหารผลการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธ์ (Strategic Performance Management Process)
-
Key Performance Indicators และ Competency เครื่องมือและเกณฑ์ในการประเมินผลยุคใหม่
-
แนวทางการกำหนดปัจจัยและค่าน้ำหนักความสำคัญในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปียุคใหม่
ส่วนที่ 2 : ความเหมือนที่แตกต่าง และความแตกต่างที่เหมือนกัน ของ KPI (Key Performance Indicator) กับ OKR (Objective and Key Result)
-
ความเหมือนที่แตกต่างของ KPI กับ OKR
-
ความแตกต่างที่เหมือนกันของ KPI กับ OKR
-
ถ้า OKR ไม่นิยมใช้ประเมินผล แล้วองค์กรที่ใช้ OKR ใช้เครื่องมือใดในการประเมินผล ???
ส่วนที่ 3 : เทคนิคการกำหนด Key Performance Indicators (KPIs) ในการประเมินผลการปฏิบัติงานให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ Vision และ Objective
-
ความหมายและประเภทของ KPI
-
การกำหนด Corporate KPIs ด้วย Balance Scorecard (BSC) เพื่อวัดผลการดำเนินงานทางธุรกิจขององค์กร
-
แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายขององค์กร (Corporate KPIs)
-
แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดผลงานของแต่ละฝ่ายงาน (Functional KPIs) ให้เชื่อมโยงกับนโยบาย (Policy) วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมายองค์กร (Corporate KPIs)
-
Workshop 1 : ฝึกปฏิบัติกำหนด Functional KPIs ของฝ่ายงาน ให้เชื่อมโยงกับ Objective และเป้าหมายองค์กร (Corporate KPIs)
-
การจัดทำบันทึกข้อตกลงผลงาน (Performance Agreement) ให้เชื่อมโยงกับนโยบาย (Policy) วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมายองค์กร (Corporate KPIs)
-
แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของตำแหน่งงาน (Position KPIs / Individual KPIs)
-
ความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators กับ Performance Indicators
-
แนวทางการออกแบบและเชื่อมโยง KPIs สู่การประเมินผลงาน
-
Workshop 2 : ฝึกปฏิบัติออกแบบประเมินผลการปฏิบัติงานด้วย KPI ของแต่ละตำแหน่งงาน
ส่วนที่ 4 : วิธีการกำหนดและเชื่อมโยง Competency ไปสู่การประเมินผลการปฏิบัติงาน
-
ความหมายและประเภทของ Competency
-
ข้อมูลแหล่งที่มา และประเภทของ Competency
-
ความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators กับ และ Competency
-
แนวทางการกำหนด Competency ในการประเมินขีดความสามารถจาก Job Description Version 4
-
แนวทางการแปลง Competency จาก Training Road Map สู่การประเมินความสามารถประจำปีที่สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร พร้อมตัวอย่าง
ส่วนที่ 5 : แนวทางในการประเมินผลงานอย่างเป็นธรรมและได้รับการยอมรับ
-
แนวทางในการประเมินผลงานอย่างเป็นธรรมและได้รับการยอมรับ
-
กระบวนการในการประเมิน และ Feedback ผลการปฏิบัติงานลูกน้อง 6 ขั้นตอน
ส่วนที่ 6 : แนวทางการแจ้งผลการปฏิบัติงาน (Positive Feedback) ให้ได้ทั้งใจและได้ทั้งงานจากลูกน้อง
-
เทคนิคการแจ้งผลงาน (Positive Feedback) แบบได้ทั้งใจ และได้ทั้งผลงานจากลูกน้อง
ส่วนที่ 7 : การนำผลการประเมินไปปรับใช้งานเชื่อมโยงกับ Human Resources System
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการปฏิบัติงานกับแผนพัฒนารายบุคคล (Performance Appraisal linked to Individual Development Plan : IDP)
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ Training Road Map และ Career Path
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ Succession Plan ด้วย Competency และ KPI
-
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับการปรับค่าจ้างประจำปียุคใหม่ แบบอิงเกรด ไม่อิง Bell Curve
รูปแบบและวิธีการเรียนรู้ :
-
การบรรยาย
-
ประกอบการแชร์ประสบการณ์ตรง
-
การทำกิจกรรมกลุ่ม (Workshop) ในการปฏิบัติจริง
-
ประชุมระดมความคิด นำเสนอผลงาน
-
ซักถาม การแลกเปลี่ยนความเห็นซึ่งกันและกัน
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ :
เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ หัวหน้าแผนก ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้สนใจทั่วไป
วิทยากร (Trainer) : อาจารย์ ธนุเดช ธานี (อ.ต้น)
-
วิทยากรและที่ปรึกษาผู้ชำนาญการพิเศษด้าน HR จากประสบการณ์ 31 ปี
-
วิทยากรพิเศษด้าน HRD ของ SGS ACADEMY
-
วิทยากรพิเศษด้าน HRD คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
-
อาจารย์พิเศษคณะบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.) มหาวิทยาลัยภาครัฐ
-
อาจารย์พิเศษคณะรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต (M.P.A.) มหาวิทยาลัยเอกชน
-
อดีตกรรมการสมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย (PMAT) 2 สมัย
-
ที่ปรึกษาฝึกอบรมเทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด