หลักสูตร ครบเครื่องเรื่องการ”นำเข้า-ส่งออก”ทั้งระบบ (บรรยายโดย อ.วัชระ ปิยะพงษ์) วันที่ 25 กันยายน 2562
สถานที่จัดอบรมอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
หลักการและเหตุผล
การนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเติบโตมากขึ้นตามความเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศ และการตกลงทางการค้าว่าด้วยเขตการค้าเสรี (FTA)โดยมีหลักการที่พยายามลดอุปสรรคทางการค้าลง โดยเฉพาะการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีระหว่างคู่สัญญา เนื่องจากขั้นตอนการนำ เข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และมีปัญหาทางด้านต้นทุนผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและ ศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้ม ค่ากับความตั้งใจการลงทุน
วันที่ 21 มีนาคม 2562 ครบเครื่องเรื่องการ”นำเข้า-ส่งออก”ทั้งระบบ (บรรยายโดย อ.วัชระ ปิยะพงษ์)
หัวข้อการสัมมนา
-
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก
-
-
การไหลของวงจรการนำเข้า-ส่งออกที่สำคัญ
-
กระบวนการนำเข้า
-
กระบวนการส่งออก
-
การเจรจา การทำสัญญาในการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออก
-
กระบวนการส่งหรือรับสินค้าเมื่อเกิดรายการขายหรือ Orderในการนำเข้า-ส่งออก
-
-
ขั้นตอนการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง
-
ขั้นตอนในการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก (Import-Export Process)
-
เอกสารทางการเงิน (Financial Document)
-
เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)
-
เอกสารทางการค้า (Commercial Document)
-
-
กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน
1. กำหนดผู้ซื้อเป้าหมาย
-
เลือกผู้ซื้อเป้าหมาย
-
ตรวจสอบสถานภาพทางการเงินของผู้ซื้อ
-
เสนอขาย
-
การทำสัญญาข้อตกลงในการซื้อขาย
-
ข้อควรระวัง
-
เงื่อนไขในสัญญาต้องมีเพื่อลดความเสี่ยง
-
พิจารณาข้อกำหนดทางการค้า
3. วิธีการส่งสินค้าออกและการหาระวางบรรทุกสินค้า
การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางรถไฟ การขนส่งทางรถบรรทุก และส่งสินค้าทางพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ
-
วิธีการส่งมอบสินค้าต้องอาศัยข้อกำหนดทางการค้าเป็นตัวกำหนด เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ
(International Commercial Terms หรือ Incoterms ® 2010)
-
EXW (Ex-Works)
-
FCA (Free Carrier)
-
FAS (Free Alongside Ship)
-
FOB (Free on Board)
-
CFR (Cost and Freight)
-
CPT( Carriage Paid To)
-
CIF (Cost Insurance and Freight)
-
CIP (Carriage and Insurance Paid To)
-
DAT (Delivered at Terminal)
-
DAP (Delivered at place)
-
DPP (Delivered Duty Paid)
5. การวิเคราะห์เครื่องมือในการชำระเงิน
-
-
Letter of Credit (L/C) ชำระด้วยแล็ตเตอร์ออฟเครดิต
-
Bills For Collection (D/P & D/A) ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร
-
Consignment การฝากขาย
-
Open Account (O/A) ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ
-
Cash Advanced Payment การชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด
-
6. การวิเคราะห์ Letter of Credit โดยละเอียด
-
เงื่อนไขที่เสียเปรียบที่ไม่ควรรับ
-
การเตรียมเอกสารและการตรวจเอกสารโดยใช้ข้อบังคับของ UCP 600 เป็นตัวพิจารณา
-
การขอแก้ไข L/C (Amendment) ที่ถูกต้อง
7. การขอให้มีการยืนยันการชำระเงินเพื่อลดความเสี่ยง
8. การ Negotiate ตั๋วในการส่งออกกับธนาคาร
9. การทำ Insurance ในการส่งออก
10. วิธีการโอน L/C ให้กับผู้อื่น
10.1 การโอนจำนวนเงินทั้งหมดใน L/C
10.2 การโอนบางส่วนเพื่อรับเงินผลต่าง(ตั๋วประกบ)
10.3 การโอนให้กับผู้รับโอนมากกว่าหนึ่งราย
11. เทคนิคเบื้องต้น ในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วย Forword Contract, Spot Contract, ฯลฯ
12. แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่จัดซื้อจากต่างประเทศ
13. แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สั่งซื้อจากต่างประเทศที่คุ้มค่าปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสมกับสินค้า
อาจารย์วัชระ ปิยะพงษ์
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม :
ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักธุรกิจ, ผู้ผลิต, ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ, ผู้นำเข้า-ส่งออก, พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการทำธุรกิจ นำเข้า-ส่งออกเข้า
วิธีการสัมมนา
-
บรรยาย กรณีศึกษา (Case Study)
ราคาเพียงท่านละ 3,900 บาท
ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่ง
สมาชิก ท่านละ 3,500 บาท
ลงทะเบียน 3 ท่าน ท่านละ 3,000 บาท
ลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 2,900 บาท
ราคาดังกล่าว ฟรี
1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)
2) ใบประกาศผ่านการอบรม
3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน