Online Zoom  เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร: Update กฎหมายประกันสังคมที่มีผลบังคับใช้ล่าสุด 9 พฤษภาคม 65 อบรม 09.00-16.00

Online Zoom  เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร: Update กฎหมายประกันสังคมที่มีผลบังคับใช้ล่าสุด 9 พฤษภาคม 65 อบรม 09.00-16.00

อบรมแบบ ONLINE ผ่าน ZOOM

 ได้รับใบประกาศนียบัตร

ราคาท่านละ 2,500 บาท/วัน (ไม่รวม VAT) 

โปรโมรชั่นสมัคร 3  ท่าน เเถม 1 ท่าน เข้าอบรม 4 ท่าน

  วัตถุประสงค์

    • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมทราบถึง การ Updateของกฎหมายประกันสังคมที่มีผลบังคับใช้ล่าสุดในปี 2565 มีกรณีใดบ้าง…

     และการได้รับสิทธิของผู้ประกันตน ตาม ม.33 จากกองทุนประกันสังคมมีกรณีใดบ้าง หรือในกรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยที่นอกเหนือจากการทำงานให้กับนายจ้างจะได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลและการขาดรายได้อย่างไร..?

    • เพื่อให้ผู้ประกันตน ตาม ม.33 ทราบถึงการได้รับสิทธิจากกองทุนประกันสังคม ในกรณีเจ็บป่วย ถึงแก่ความตายหรือสูญหาย การได้รับสิทธิเงินบำเหน็จ เงินบำนาญชราภาพ หรือการได้รับสิทธิ กรณีว่างงานจากสำนักงานประกันสังคมมีกรณีใดบ้าง..?

                      

หัวข้อในการอบรม

                                                                                        

           *** หมวด1: การได้รับสิทธิของผู้ประกันตนจากกองทุนประกันสังคม***

  1. วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐที่จัดตั้งกองทุนประกันสังคมขึ้น มีจุดประสงค์หลักอย่างไร..?

  2. ลูกจ้างที่เป็นผู้ประกันตน ตาม ม.33 จะได้รับสิทธิจากกองทุนประกันสังคมมีกรณีใดบ้าง..?

  3. กรณีเจ็บป่วยนอกเวลาทำงาจะได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลตามสิทธิอย่างไร..?

  4. ในระหว่างเจ็บป่วยและหยุดงานจะได้รับสิทธิเงินทดแทนการขาดรายได้จากกองทุนประกันสังคมอย่างไร..?

  5. กรณีประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยฉุกเฉินไม่สามารถเข้ารับการรักษาโรงพยาบาลตามสิทธิได้ต้องดำเนินการอย่างไร..?

  6. กรณีทันตกรรม – ขูดหินปูน – ถอนฟัน – อุดฟัน – ผ่าฟันคุด -ใส่ฟันเทียม จะได้รับสิทธิอย่างไร..?

  7. กรณีคลอดบุตร การได้รับสิทธิของผู้ประกันตนหญิงและผู้ประกันตนชาย จะได้รับสิทธิอย่างไร..?

  8. กรณีลาตรวจครรภ์ และลาคลอดบุตรจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

  9. กรณีสงเคราะห์บุตรจะได้รับสิทธิตามกฎหมายบัญญัติไว้อย่างไร..?

  10. กรณีทุพพลภาพร้ายแรงหรือไม่ร้ายแรงจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

  11. ในกรณีตายหรือสูญหาย จะได้รับสิทธิจากกองทุนประกันสังคมอย่างไร..?

  12. กรณีชราภาพและเงินบำเหน็จชราภาพ มีเงื่อนไขในการส่งและจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

  13. การได้รับสิทธิเงินบำนาญชราภาพ มีเงื่อนไขในการส่งและจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

  14. กรณีผู้รับเงินบำนาญชราภาพถึงแก่ความตายภายใน 60 เดือน หรือ ( 5 ปี ) จะได้รับสิทธิอย่างไร..?

  15. ผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนกรณีถึงแก่ความตายหรือสูญหาย กฎหมายบัญญัติไว้ให้ได้รับสิทธิมีใครบ้าง..?

  16. กรณีว่างงาน ด้วยเหตุ ถูกเลิกจ้างโดยผิดวินัยร้ายแรง – ถูกเลิกจ้างโดยได้รับค่าชดเชย – ลาออก จะได้รับสิทธิอย่างไร..?       

 

*** หมวด2: การได้รับสิทธิของลูกจ้างจากกองทุนเงินทดแทน ***

  1. วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐที่จัดตั้งกองทุนเงินทดแทนขึ้น มีจุดประสงค์หลักอย่างไร..?

  2. เมื่อลูกจ้างเข้าปฏิบัติงานให้กับนายจ้างจะได้รับการคุ้มครองจากกองทุนเงินทดแทนเมื่อใด..?

  3. การประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานให้กับนายจ้าง หมายความว่า อย่างไร..?

  4. การเจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง หมายความว่า อย่างไร..?

  5. การสูญหายอันเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง หมายความว่าอย่างไร..?

  6. ในเวลานอกการทำงานเมื่อลูกจ้างเจ็บป่วยเนื่องมาจากการปกป้องทรัพย์สินของนายจ้างเป็นการกระทำลักษณะใด

  7. เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้างจะได้รับการคุ้มครองอะไรบ้าง..?

  8. ในกรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

  9. หน้าที่ของนายจ้างในการนำส่งลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาล ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

  10. ค่ารักษาพยาบาลตลอดระยะเวลาการรักษากองทุนเงินทดแทนมีอัตราจ่ายอย่างไร..?

  11. ค่าทดแทนกรณีเจ็บป่วยต้องพักรักษาตัวและไม่สามารถทำงานได้ มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

  12. ยกตัวอย่าง เพื่อเปรียบเทียบ การจ่ายค่าตอบแทน ตามค่าจ้างในกรณีต่างๆ

  13. ค่าทดแทนกรณีสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานของร่างกาย มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

  14. ค่าทดแทนกรณีทุพพลภาพเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

  15. ค่าทดแทนกรณีถึงแก่ความตายหรือสูญหายเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

  16. ผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนกรณีถึงแก่ความตายหรือสูญหาย กฎหมายบัญญัติให้ได้รับสิทธิมีใครบ้าง..?

  • ถาม – ตอบ – แนะนำ

  • ผู้เข้าร่วมสัมมนา – นายจ้าง – ผู้บริหาร – พนักงานทุกระดับ

  • ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา “ฟรี” ตลอดกาลไม่มีค่าใช้จ่าย

 

อาจารย์ สมบัติ  น้อยหว้า วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน                                 

ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์

  • เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลาง กรุงเทพฯ 9 ปี

  • เป็นผู้ประนอมคดีแรงงานในศาลแรงงานกลาง กรุงเทพฯ

  • เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำ ที่กระทรวงแรงงาน   

  • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียน ที่กระทรวงแรงงาน        

  • เป็นอนุกรรมการประกันสังคม ณ สำนักงานใหญ่ จ. นนทบุรี

  • เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน จากสถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ.2562

  • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน บริษัทฯเอกชนในเขตุกรุงเทพฯและต่างจังหวัด

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร 40 ประเด็น เด็ดๆ..ที่ผู้บริหารงานมือใหม่ต้องรู้

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การบริหารงาน-บริหารคนของนายจ้างในบริษัทเอกชน

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร สวัสดิการ-ลงโทษ-เลิกจ้างที่ผู้บริหารและห้ามพลาด

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร เทคนิคการเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การเขียนสัญญาจ้าง-เขียนระเบียบปฏิบัติ-ประกาศ-คำสั่ง

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การปฏิบัติตนที่ดีขณะเป็นลูกจ้างในสถานประกอบกิจการ

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร Update กฎหมายประกันสังคมที่มีผลบังคับใช้ปี พ.ศ. 2564

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร เจาะลึก…การสรรหาว่าจ้างพนักงานใหม่เข้าทำงานในองค์กร

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร เลิกจ้างอย่างไรไม่ให้เกิดปัญหาลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร ผู้บริหาร หัวหน้างานลงโทษอย่างไร..ไม่ให้ผิดกฎหมายแรงงาน

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การนำเข้าและจ้างแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายภายใต้ MOU.

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การจัดทำข้อบังคับในการทำงานให้สอดคล้องกับกฎหมายแรงงาน

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การบริหารงานกรณีสอบสวนความผิด-ลงโทษทางวินัยหรือเลิกจ้าง

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การเตรียมความพร้อมรับมือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2565

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร เจาะลึก.การจ้างแรงงานผ่านบริษัทรับเหมา(outsource)ต้องบริหารอย่างไร..

  • วิทยากรบรรยายหลักสูตรได้รับผลกระทบจาก covid-19ระบาด นายจ้างมีนโยบาย , ลดค่าสวัสดิการ, ลดค่าจ้าง,หรือเลิกจ้าง ต้องบริหารอย่างไร..

Scheduled Public PUBLIC ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ผู้นำ