Online Zoom เปิดรับสมัคร Course outline หลักสูตร เทคนิคทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ( 1 วัน) 29 เม.ย.64

Online Zoom เปิดรับสมัคร Course outline หลักสูตร เทคนิคทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ( 1 วัน) 29 เม.ย.64

โอนก่อนวันนี้ ราคาท่านละ 1,900 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM

หลักการและเหตุผล (Introduction)

          ความสำคัญของการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้สำหรับการบริหารคนให้เหมาะสมกับขนาดขององค์กร เพราะในยุค 4.0 การทำงานของคนในองค์กรนั้นจะเน้นการทำงานที่คุณภาพมากขึ้น ฉะนั้นผู้นำหรือผู้บริหารจำเป็นจะต้องรู้ว่าบุคลกรที่มีอยู่นั้นจะต้องได้รับการประเมินทักษะ เพื่อสามารถทำงานทดแทนผู้อื่นได้ ในการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) ที่ดีนั้นจะต้องมีการกำหนดตัวชี้วัดไว้อย่างชัดเจน โดยเริ่มตั้งแต่ทบทวนหน้าที่หลักของหน่วยงาน (Function Matrix) งานหลักที่ต้องทำ (Key Responsibility) รายละเอียดงานที่ต้องทำ (Key Task) การวิเคราะห์ Job Competency การคัดเลือก Skill และตลอดการรวมถึง Skill เพื่อนำไปทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)

 

วัตถุประสงค์ (Objective)

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจในการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)

  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำเทคนิคจากวิทยากรไปจัดทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) และประยุกต์ใช้งานในองค์กรอย่างเหมาะสมและเพิ่มประสิทธิภาพในการสร้างคนสร้างงาน และสร้างความยั่งยืน

 

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)

  • หัวหน้างาน ผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารคน

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

  1. Mindset กับ Skillset แตกต่างกันอย่างไร

  2. SKA ในการทำงานกับ Behavior

  3. Skills Matrix ของหน่วยงาน จาก Job Description ให้สอดคล้องกับระบบ ISO

  4. บทบาทหน้าที่ของผู้ที่ทำ Skills Matrix

  5. ตารางทักษะการทำงานของ skill Matrix

  6. ตาราง Skill Matrix มีประโยชน์อย่างไร

  7. เทคนิคการทำตารางทักษะของพนักงาน

  8. เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัดทักษะของ Skill Matrix

  9. ขั้นตอนการทำ On the Job Training Matrix

  10. สรุปการเรียนรู้

 

ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)

  • 6 ชั่วโมง

รูปแบบการการอบรม (Methodology)

  • การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ ( Adult Learning ) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ได้ทันที

  • การบรรยายแบบมีส่วนร่วมสื่อสาร 2 ทาง,Workshop ถาม-ตอบ

รวมรับใบประกาศผ่านการอบรม

ติดต่อสอบถามจัดหลักสูตร IN HOUSE & PUBLIC TRAINING

ติดต่อEmail: Inwtraining.sale@gmail.com

Tel: 098-820-9929คุณกุ้ง

LINE ID : @TESSTRAINING

FACEBOOK : TESSTRAININGPAGE

http://www.tesstraining.com

WWW.ALLThaiTraining.com

รวมประกาศฝึกอบรม

หากสนใจหลักสูตรนี้เป็น In house training สอบถามใบเสนอราคาได้ที่Email.inwtraining.sale@gmail.com

เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร PDPA พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) อบรม 20 เม.ย.65 อ.พลกฤต

เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร PDPA พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) อบรม 20 เม.ย.65 อ.พลกฤต

 

สามารถจัดได้ 2 รูปเเบบ Online Zoom/ONSITE

ราคาที่ 1 รูปเเบบ ออนไลน์ ผ่านโปรเเกรม zoom

ราคาโปรโมชั่น ท่านละ 2,000 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

  • สมัครเข้าอบรม 4 ท่าน ชำระเพียง 3 ท่าน

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) ใบประกาศผ่านการอบรม

2) ไฟล์ PDF การสอน

หลักสูตรนี้มีคำตอบ ที่นี่ที่เดียว
สนใจสมัครเพื่อรับองค์ความรู้ได้ที่ คุณกุ้ง 0988209929 คุณกุ้ง

 

 

หลักการและเหตุผล (Introduction)

เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลนั้น เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเก็บรักษาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของลูกค้า ข้อมูลของลูกจ้าง หากข้อมูลเหล่านี้ถูกเผยแพร่โดยไม่ได้รับการอนุญาต จะส่งกระทบกับการชดเชยค่าสินไหม ต่างๆเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้ประกอบการจำเป็นต้องควรระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลพระราชบัญญัติฉบับนี้ของผู้ควบคุมส่วนบุคคล

 

วัตถุประสงค์(Objective)

1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

2. เพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการเตรียมความพร้อมของนายจ้าง /HRเพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขตามกฎหมาย การให้ความยินยอม กระบวนการเพื่อรองรับการใช้สิทธิอื่น ๆ ของเจ้าของข้อมูล

3. รูปเเบบฟอร์ม นายจ้าง /HR /ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายขาย สามารถจัดทำนโยบาย และกำหนดกระบวนการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน (Personal Information) ให้สอดคล้องกับกฏหมายได้

 

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

  1. ความหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562

  2. นิยามศัพท์ของ “ข้อมูลส่วนบุคคล” “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” และ “เจ้าของข้อมูล”

  3. การจัดเก็บข้อมมูล การเผยแพร่ข้อมูล

  4. ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล

  5. แนวทางการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องปฏิบัติอย่างไร ผู้ใช้จะต้องมีความรับผิดชอบแบบไหน

  6. มาตรการการควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล อ้างอิงจากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562

  7. ความต้องการใช้ข้อมูลประเด็นที่เกี่ยวกับนายจ้าง และลูกจ้าง ต้องปฏิบัติอย่างไร

  8. ความรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และบทลงโทษ ในการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล

  9. การจ่ายค่าสินไหม โทษปรับต่างๆ

  10. จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

  11. ผลกระทบและการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน(Personal Information) ของฝ่ายHR

  12. ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานและเอกสารอะไรบ้างในฝ่ายบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับกฏหมายฉบับนี้

  13. ใบสมัครงาน สัมภาษณ์งานและการจ้างงานมีอะไรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน

  14. จะกำหนดนโยบาย/ระเบียบปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานอย่างไร

  15.  บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติสำหรับนายจ้าง และฝ่ายบุคคล ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตั้งแต่การกำหนดนโยบาย แนวปฏิบัติ การกำหนดเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล/การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลขององค์กร

    • นายจ้างมีสิทธิเรียก เก็บรักษา ใช้ ข้อมูลของพนักงานได้ทุกกรณีหรือไม่? ข้อมูลใดเรียกเก็บได้ ข้อมูลใดเรียกเก็บไม่ได้?

    • ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน กรณีใด/ประเภทใดบ้าง ต้องขอความยินยอม กรณีใด/ประเภทใด ไม่ต้องขอความยินยอมตามพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

    • เทคนิควิธีการดำเนินการด้านขอความยินยอม จากลูกจ้างเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อใช้ในการปฏิบัติตามสัญญาจ้างแรงงาน

    • HR Privacy Policyคืออะไร?และกรณีศึกษา/ตัวอย่าง การร่างนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (HR Privacy Policy)สำหรับพนักงาน

    • บริษัทจะแจ้งHR Privacy Policyให้พนักงานทราบได้ด้วยวิธีใดได้บ้าง?

    • กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การจัดทำหนังสือขอให้ลูกจ้างส่งข้อมูลส่วนบุคคล

    • กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การปรับปรุงสัญญาจ้าง

    • ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน แบบฟอร์มเอกสารที่เกี่ยวข้องในฝ่ายบุคคล

    • ถาม-ตอบ แลกเปลี่ยนปัญหาการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)

  • 00-14.00 น.

รูปแบบการการอบรม (Methodology)

  • การบรรยาย กิจกรรมกลุ่ม การนำเสนอ

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

www.tesstraining.com

www.inwtraining.com

Online Training  หลักสูตร: การเตรียมความพร้อมรับมือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) นายจ้าง,ผู้บริหาร, HR. ต้องปฏิบัติอย่างไร..? 24 ก.พ.65 อ.สมบัติ น้อยหว้า

Online Training  หลักสูตร: การเตรียมความพร้อมรับมือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) นายจ้าง,ผู้บริหาร, HR. ต้องปฏิบัติอย่างไร..? 24 ก.พ.65 อ.สมบัติ น้อยหว้า

เปิดจัดอบรม

รุ่นที่  2 อบรม 24 ก.พ.65 อ.สมบัติ น้อยหว้า

 

สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM

ราคาท่านละ 1,900 บาท (ไม่รวม VAT) สมัคร 3 ท่านขึ้นไป เข้าอบรมได้ 4 ท่าน

อบรมแบบ ONLINE ผ่าน ZOOM

เวลาอบรม 13.00-17.00 ได้รับใบประกาศนียบัตร

 

 หลักการและเหตุผล

      ข้อมูลส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ซึ่งจะมีผลบังคับใช้กับองค์กรของบริษัทเอกชนและองค์กรอื่นๆ ดังนั้นเจ้าของกิจการหรือผู้บริหารงานในองค์กร จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจกับเนื้อหาของกฎหมายฉบับนี้ เพราะจะต้องทำการเก็บรวบรวมใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้างในองค์กรและรวมไปถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ร่วมธุรกิจทางการค้า หรือผู้มาติดต่องานกับองค์กร และการเรียนรู้เพื่อรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลที่องค์กรเก็บรักษาไว้ หากข้อมูลส่วนบุคคล ดังกล่าวถูกเปิดเผยโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจนเป็นเหตุให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้รับความเสียหายทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ผู้ละเมิดสิทธิจะมีความผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา                                                                                                                                                                                                  

    วัตถุประสงค์                                                                                                                                                                                                        เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนาทราบและเข้าใจในเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้แล้วนำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในการเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานที่ปฏิบัติงานเป็นลูกจ้างอยู่ ,ที่จะเข้ามาเป็นพนักงานใหม่, ที่เป็นคู่ร่วมธุรกิจกับนายจ้างหรือผู้ที่มาติดต่องานกับองค์กร การแจ้งวัตถุประสงค์ในการเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้เหตุผลอย่างไร, มีขั้นตอนในการเรียกเก็บอะไรบ้าง..                                                                                   

เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลให้มีความ ปลอดภัย มิให้บุคคลใด บุคคลหนึ่ง ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เข้าถึงข้อมูล ส่วนบุคคลของพนักงานได้ หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน นายจ้างจะกระทำได้ ก็ต่อเมื่อต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อน หรือต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายฉบับนี้มีอย่างไรบ้าง…                                                                                                                                                       

เพื่อให้นายจ้างหรือผู้บริหารทราบถึง ในกรณีมีการละเมิดสิทธิ ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน เช่น เก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานจากแหล่งอื่น ,เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือในกรณีนำข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานดังกล่าวไปเปิดเผย เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนหรือผู้อื่นจะมีความผิดทางแพ่งและทางอาญาอย่างไร…

 

หัวข้อในการอบรม                                                                                                                                                                                                                                     หมวด : 1 สาระที่สำคัญของ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีผลบังคับใช้

  • วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐ ที่ตราพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับนี้ขึ้นเพื่ออะไร..?

  • ข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไร..?  

  • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจัดทำขึ้นเพื่ออะไร..?

  • มีขอบเขตการใช้บังคับ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอะไรบ้าง..?      

  • ข้อยกเว้นการใช้บังคับตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีหน่วยงานใดบ้าง..?

  • บุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลมีใครบ้าง..?

  • สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล มีอะไรบ้าง..?

  • การยินยอมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ต้องทำอย่างไร..?

  • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล คือใคร.. มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

  • ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร..มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

  • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นต้องปฏิบัติอย่างไร...?

  • การเคลื่อนย้าย หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังหน่วยงานอื่น ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

             หมวด : 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่ นายจ้าง, ผู้บริหาร, เรียกเก็บและเปิดเผยได้

  • ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากลูกจ้างภายในองค์กร มีอะไรบ้าง..?

 * 1. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้าง จะกระทำได้ และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

  • ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บจาก คู่ค้า จากผู้มาติดต่องาน การเรียกเก็บ ขอบเขตที่ทำได้มีอะไรบ้าง..?

 * 2. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ของคู่ค้าของผู้มาติดต่องานจะกระทำได้และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

  • ส่วนที่ 3 นายจ้าง  ผู้บริหาร ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล และ/หรือ ผู้ที่ละเมิดสิทธิข้อมูลส่วนบุคคล             ของผู้อื่น ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้ จนเป็นเหตุให้ เจ้าของข้อมูลได้รับ ความเสียหาย อับอายเสียซื่อเสียง                          เสียสิทธิจะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญา และทางปกครอง อะไรบ้าง..?                                                                                                

 * 3. 1 การรับผิด ทางแพ่ง   ต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอะไรบ้าง..?

 * 3. 2 การรับผิด ทางอาญา  ต้องระวางโทษจำคุก 6 เดือน – 1 ปี หรือปรับ 500,000 – 1,000,000บาท เพราะอะไร..?

  * 3. 3 การรับผิดทางปกครอง  ต้องเสียค่าปรับเป็น 1,000,000 บาท เพราะอะไร..?  

  * 3. 4 การรับผิดทาง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ กรณีละเมิดสิทธิลงทาง สื่อโซเชียลมีเดีย จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 5 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นด้วยการโฆษณา จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 6  การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 7  การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นซึ่งหน้า จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 8  ผลสรุป นายจ้าง, ลูกจ้าง, จะได้รับประโยชน์จากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้มีอะไรบ้าง..?

แจกฟรี : ตัวอย่างเอกสาร สำหรับการจัดทำ และเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานในองค์กรและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับองค์กร

  • ถาม – ตอบ – แนะนำ

  • ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดการไม่มีค่าใช้จ่าย

     

 

  • วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน อาจารย์ สมบัติ น้อยหว้า 

          ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์

  • เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ 9 ปี

  • เป็นผู้ไกล่เกลี่ยคดีแรงงานในศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ

  • เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำ ที่กระทรวงแรงงาน

  • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียน ที่กระทรวงแรงงาน

  • เป็นอนุกรรมการประกันสังคม ณ สำนักงานใหญ่ จ. นนทบุรี

  • เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน จากสถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ.2562

  • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงานบริษัทเอกชนในเขตุกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด

  • เป็นวิทยากรอิสระให้ความรู้ด้านกฎหมายแรงงาน มากกว่า 15 หลักสูตร

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 31/155 หมู่ที่ 1 ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี: 0105557143661

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Website: www.tesstraining.com

Website: www.INWtraining.com

Online Training หลักสูตร เทคนิคทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน 27 พ.ค.64

Online Training หลักสูตร เทคนิคทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน 27 พ.ค.64

 

สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM

โปรโมชั่นOnline Training  ราคา ท่านละ 1500 บาท

หลักสูตรนี้มีคำตอบ ที่นี่ที่เดียว
สนใจสมัครเพื่อรับองค์ความรู้ได้ที่ คุณกุ้ง 0988209929 คุณกุ้ง

 

เหมาะสำหรับ หัวหน้างาน ผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารคน

หลักการและเหตุผล (Introduction)

          ความสำคัญของการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้สำหรับการบริหารคนให้เหมาะสมกับขนาดขององค์กร เพราะในยุค 4.0 การทำงานของคนในองค์กรนั้นจะเน้นการทำงานที่คุณภาพมากขึ้น ฉะนั้นผู้นำหรือผู้บริหารจำเป็นจะต้องรู้ว่าบุคลกรที่มีอยู่นั้นจะต้องได้รับการประเมินทักษะ เพื่อสามารถทำงานทดแทนผู้อื่นได้ ในการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) ที่ดีนั้นจะต้องมีการกำหนดตัวชี้วัดไว้อย่างชัดเจน โดยเริ่มตั้งแต่ทบทวนหน้าที่หลักของหน่วยงาน (Function Matrix) งานหลักที่ต้องทำ (Key Responsibility) รายละเอียดงานที่ต้องทำ (Key Task) การวิเคราะห์ Job Competency การคัดเลือก Skill และตลอดการรวมถึง Skill เพื่อนำไปทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)

 

วัตถุประสงค์ (Objective)

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจในการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)

  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำเทคนิคจากวิทยากรไปจัดทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) และประยุกต์ใช้งานในองค์กรอย่างเหมาะสมและเพิ่มประสิทธิภาพในการสร้างคนสร้างงาน และสร้างความยั่งยืน

 

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

  1. Mindset กับ Skillset แตกต่างกันอย่างไร

  2. SKA ในการทำงานกับ Behavior

  3. Skills Matrix ของหน่วยงาน จาก Job Description ให้สอดคล้องกับระบบ ISO

  4. บทบาทหน้าที่ของผู้ที่ทำ Skills Matrix

  5. ตารางทักษะการทำงานของ skill Matrix

  6. ตาราง Skill Matrix มีประโยชน์อย่างไร

  7. เทคนิคการทำตารางทักษะของพนักงาน

  8. เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัดทักษะของ Skill Matrix

  9. ขั้นตอนการทำ On the Job Training Matrix

  10. สรุปการเรียนรู้

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

http://www.tesstraining.com

Online Training  หลักสูตร  เคล็ดไม่(ลับ)ในการเขียน Competencyแบบง่ายๆ สำหรับการประเมินผลงานและสร้างแนวทางในการพัฒนาคน 27 เม.ย.64

Online Training  ลักสูตร  เคล็ดไม่(ลับ)ในการเขียน Competencyแบบง่ายๆ สำหรับการประเมินผลงานและสร้างแนวทางในการพัฒนาคน 27 เม.ย.64

 

สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM

 

โปรโมชั่นOnline Training  ราคา ท่านละ 1500 บาท

หลักสูตรนี้มีคำตอบ ที่นี่ที่เดียว
สนใจสมัครเพื่อรับองค์ความรู้ได้ที่ คุณกุ้ง 0988209929 คุณกุ้ง

 

 

  ปัญหาที่พบกันบ่อยที่หลายองค์กรไม่มีความเข้าใจในเรื่องของ Competency ที่ทำให้การประเมินผลงานหรือแม้แต่การพัฒนาคนมาจาก Competency ที่มีความซับซ้อนทำให้เสียเวลา ทั้งงบประมาณที่ไม่สามารถช่วยให้องค์กรให้บรรลุเป้าหมายได้ การออกแบบ Competency ที่ง่ายและเหมาะสมจะทำให้สะท้อนถึงศักยภาพของพนักงานเพื่อได้รับการประเมินผลของการทำงาน และในส่วนที่ยังขาดจะได้พิจารณาในการพัฒนา Competency ให้ตอบโจทย์และสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กรต่อไป

หลักสูตร  เคล็ดไม่(ลับ)ในการเขียน Competencyแบบง่ายๆ สำหรับการประเมินผลงานและสร้างแนวทางในการพัฒนาคนเน้นการฝึกปฏิบัติความเข้าใจในเรื่องของ Competency เพื่อประเมินผลงาน และนำส่วนที่เป็น Gap ไปพัฒนาพนักงานให้สามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายขององค์กรได้อย่างยั่งยืน

 

วัตถุประสงค์ (Objective)

  1. เพื่อผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการแนวคิดเกี่ยวกับ Competency

  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำ Competency ไปเชื่อมโยงในการประเมินผลงาน และวางแผนการพัฒนาบุคลากรได้อย่างเหมาสม

  3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำเทคนิคเสริมทักษะในการจัดทำ Competency เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในอนาคตได้เป็นอย่างดี

หัวข้ออบรม

  • การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ SKA

  • Workshop 1: กิจกรรม Competency Dictionary ตามหลัก KSA (Knowledge, Skills และ Attributes)

  • เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัด (Indicators) ในการประเมินความรู้/ทักษะ/พฤติกรรม

  • หลักการประเมิน Competency ของพนักงาน พร้อมตัวอย่างการประเมินผลงาน

  • การทำ Training Roadmap ตาม Competency

  • Workshop 2 : กิจกรรมกลุ่มการเขียน Training Roadmap ตาม Competency เพื่อพัฒนาบุคลากร

  • ถาม-ตอบ สรุปการเรียนรู้ และมอบของรางวัล

ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)

  • 6 ชั่วโมง

รูปแบบการการอบรม (Methodology)

  • การบรรยาย การสาธิต  กิจกรรมการเรียนรู้  และ การอภิปรายกลุ่ม

อุปกรณ์ที่ใช้ :Other

               – LCD       – Flip Chart    – Microphone    – Classroom and Workshop

 

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

http://www.tesstraining.com

 

Online Training หลักสูตร: การเตรียมความพร้อมรับมือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) นายจ้าง,ผู้บริหาร, HR. ต้องปฏิบัติอย่างไร..? 12 พ.ค.64 อ.สมบัติ น้อยหว้า 13.00-16.30

Online Training  หลักสูตร: การเตรียมความพร้อมรับมือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) นายจ้าง,ผู้บริหาร, HR. ต้องปฏิบัติอย่างไร..? 12 พ.ค.64 อ.สมบัติ น้อยหว้า 13.00-16.30

 

สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM

ราคาท่านละ 1,500 บาท (ไม่รวม VAT)

 

 หลักการและเหตุผล

      ข้อมูลส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ซึ่งจะมีผลบังคับใช้กับองค์กรของบริษัทเอกชนและองค์กรอื่นๆใน วันที่ 1 เดือน มิถุนายน 2564นี้ ดังนั้นเจ้าของกิจการหรือผู้บริหารงานในองค์กร จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจกับเนื้อหาของกฎหมายฉบับนี้ เพราะจะต้องทำการเก็บรวบรวมใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้างในองค์กรและรวมไปถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ร่วมธุรกิจทางการค้า หรือผู้มาติดต่องานกับองค์กร และการเรียนรู้เพื่อรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลที่องค์กรเก็บรักษาไว้ หากข้อมูลส่วนบุคคล ดังกล่าวถูกเปิดเผยโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจนเป็นเหตุให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้รับความเสียหายทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ผู้ละเมิดสิทธิจะมีความผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา                                                                                                                                                                                                  

    วัตถุประสงค์                                                                                                                                                                                                        เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนาทราบและเข้าใจในเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้แล้วนำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในการเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานที่ปฏิบัติงานเป็นลูกจ้างอยู่ ,ที่จะเข้ามาเป็นพนักงานใหม่, ที่เป็นคู่ร่วมธุรกิจกับนายจ้างหรือผู้ที่มาติดต่องานกับองค์กร การแจ้งวัตถุประสงค์ในการเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้เหตุผลอย่างไร, มีขั้นตอนในการเรียกเก็บอะไรบ้าง..                                                                                   

เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลให้มีความ ปลอดภัย มิให้บุคคลใด บุคคลหนึ่ง ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เข้าถึงข้อมูล ส่วนบุคคลของพนักงานได้ หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน นายจ้างจะกระทำได้ ก็ต่อเมื่อต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อน หรือต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายฉบับนี้มีอย่างไรบ้าง…                                                                                                                                                       

เพื่อให้นายจ้างหรือผู้บริหารทราบถึง ในกรณีมีการละเมิดสิทธิ ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน เช่น เก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานจากแหล่งอื่น ,เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือในกรณีนำข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานดังกล่าวไปเปิดเผย เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนหรือผู้อื่นจะมีความผิดทางแพ่งและทางอาญาอย่างไร…

 

หัวข้อในการอบรม                                                                                                                                                                                                                                     หมวด : 1 สาระที่สำคัญของ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีผลบังคับใช้

  • วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐ ที่ตราพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับนี้ขึ้นเพื่ออะไร..?

  • ข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไร..?  

  • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจัดทำขึ้นเพื่ออะไร..?

  • มีขอบเขตการใช้บังคับ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอะไรบ้าง..?      

  • ข้อยกเว้นการใช้บังคับตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีหน่วยงานใดบ้าง..?

  • บุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลมีใครบ้าง..?

  • สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล มีอะไรบ้าง..?

  • การยินยอมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ต้องทำอย่างไร..?

  • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล คือใคร.. มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

  • ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร..มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

  • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นต้องปฏิบัติอย่างไร...?

  • การเคลื่อนย้าย หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังหน่วยงานอื่น ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

             หมวด : 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่ นายจ้าง, ผู้บริหาร, เรียกเก็บและเปิดเผยได้

  • ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากลูกจ้างภายในองค์กร มีอะไรบ้าง..?

 * 1. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้าง จะกระทำได้ และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

  • ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บจาก คู่ค้า จากผู้มาติดต่องาน การเรียกเก็บ ขอบเขตที่ทำได้มีอะไรบ้าง..?

 * 2. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ของคู่ค้าของผู้มาติดต่องานจะกระทำได้และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

  • ส่วนที่ 3 นายจ้าง  ผู้บริหาร ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล และ/หรือ ผู้ที่ละเมิดสิทธิข้อมูลส่วนบุคคล             ของผู้อื่น ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้ จนเป็นเหตุให้ เจ้าของข้อมูลได้รับ ความเสียหาย อับอายเสียซื่อเสียง                          เสียสิทธิจะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญา และทางปกครอง อะไรบ้าง..?                                                                                                

 * 3. 1 การรับผิด ทางแพ่ง   ต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอะไรบ้าง..?

 * 3. 2 การรับผิด ทางอาญา  ต้องระวางโทษจำคุก 6 เดือน – 1 ปี หรือปรับ 500,000 – 1,000,000บาท เพราะอะไร..?

  * 3. 3 การรับผิดทางปกครอง  ต้องเสียค่าปรับเป็น 1,000,000 บาท เพราะอะไร..?  

  * 3. 4 การรับผิดทาง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ กรณีละเมิดสิทธิลงทาง สื่อโซเชียลมีเดีย จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 5 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นด้วยการโฆษณา จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 6  การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 7  การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นซึ่งหน้า จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 8  ผลสรุป นายจ้าง, ลูกจ้าง, จะได้รับประโยชน์จากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้มีอะไรบ้าง..?

แจกฟรี : ตัวอย่างเอกสาร สำหรับการจัดทำ และเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานในองค์กรและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับองค์กร

  • ถาม – ตอบ – แนะนำ

  • ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดการไม่มีค่าใช้จ่าย

     

 

  • วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน อาจารย์ สมบัติ น้อยหว้า 

          ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์

  • เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ 9 ปี

  • เป็นผู้ไกล่เกลี่ยคดีแรงงานในศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ

  • เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำ ที่กระทรวงแรงงาน

  • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียน ที่กระทรวงแรงงาน

  • เป็นอนุกรรมการประกันสังคม ณ สำนักงานใหญ่ จ. นนทบุรี

  • เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน จากสถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ.2562

  • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงานบริษัทเอกชนในเขตุกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด

  • เป็นวิทยากรอิสระให้ความรู้ด้านกฎหมายแรงงาน มากกว่า 15 หลักสูตร

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 31/155 หมู่ที่ 1 ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี: 0105557143661

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Website: www.tesstraining.com

Website: www.INWtraining.com

 

 

 

Public Training หลักสูตร กฎหมายแรงงาน HR ควรรู้ อบรม 14 พ.ค.64

Public Training หลักสูตร กฎหมายแรงงาน HR ควรรู้ อบรม 14 พ.ค.64

โรงเเรม โนโวเทล สุขุมวิท 20 ติด BTS อโศก

 

หลักการและเหตุผล (Introduction)

ในการประกอบกิจการใดๆนั้น HR หรือตัวแทนนายจ้าง รวมถึงผู้ที่มีหน้าที่ดูแลการจ้างงาน จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานเบื้องต้น เพราะเมื่อใดที่เกิดการจ้างงาน ลูกจ้างและนายจ้างจะต้องมีการกำหนดกฎเกณฑ์ระเบียบวิธีการปฏิบัติ เพื่อให้พนักงานมีความปลอดภัย และการสร้างความเป็นธรรมร่วมกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง

ฉะนั้นหลักสูตรนี้เน้นวิธีการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน เพื่อHR หรือตัวแทนนายจ้าง ลูกจ้างทำงานร่วมกันภายใต้กฎหมายแรงงาน โดยไม่มีการเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน และช่วยกันสร้างสรรค์การทำงานร่วมกันให้เป็นไปตามเป้าหมายด้วยหลักและวิธีการที่เข้าใจกันมากขึ้น

วัตถุประสงค์ (Objective)

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจในเรื่องของกฎหมายแรงงานเบื้องต้น

  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำความรู้ไปปฏิบัติต่อกันอย่างเป็นธรรมภายใต้การทำงานร่วมกัน

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)

  • HR หัวหน้างาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

  • ภาพรวมของกฎหมายแรงงาน

  • การจ้างงานและคุ้มครองแรงงาน

  • อัพเดทกฎหมายแรงงาน (Update 2562)

  • การจ้างเหมาค่าแรง (Outsource)และการรับเหมาช่วงแตกต่างอย่างไรกับพนักงานประจำ

  • ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน และข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

  • วันเวลาทำงาน วันหยุด วันลา ค่าจ้าง สวัสดิการ และผลประโยชน์

  • เวลาทำงานปกติ เวลาพัก และการทำงานล่วงเวลา

  • วันหยุด 3ประเภท และวันลา 7 ประเภท

  • อัตราค่าล่วงเวลา และการคำนวณค่าล่วงเวลา

  • ลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา และค่าทำงานในวันหยุด

  • หลักการจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด การใช้แรงงานหญิงและแรงงานเด็ก

  • แรงงานสัมพันธ์ วินัย และการลงโทษทางวินัย

  • ประเภทของวินัย หลักการและขั้นตอนการลงโทษทางวินัย

  • การออกหนังสือเตือน และการพักงาน

  • ประเภทของการสิ้นสุดสัญญาจ้างแรงงานและค่าชดเชย

  • การเลิกจ้าง การลาออก และการเกษียณอายุ

  • หลักเกณฑ์การบอกกล่าวล่วงหน้า& ข้อยกเว้น

  • เงิน3ประเภทที่ต้องจ่ายกรณีนายจ้างเลิกจ้าง

  • หลักเกณฑ์การจ่ายค่าชดเชย อัตรา และการคำนวณ

  • การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม และการกระทำอันไม่เป็นธรรม

  • ข้อระมัดระวังที่นายจ้างมักจะปฏิบัติไม่ถูกต้อง

  • กรณีศึกษา

รูปแบบการการอบรม (Methodology)

  • การบรรยายแบบมีส่วนร่วม 60%

  • กิจกรรมและWork shop ถาม-ตอบ 40%   (กรณีศึกษา)

  • มี Pre-test, Post-Test

ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)

  • 00-16.00 น.

ค่าลงทะเบียนอบรม 

พิเศษเพียง 3,500 บาท/ท่าน (ไม่รวม Vat) เมื่อชำระค่าลงทะเบียนก่อนวันอบรมล่วงหน้า 7 วันทำการ

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

 

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)

เลขที่31/155หมู่ที่1ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12110
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี: 0105557143661

Website: www.tesstraining.com

Website: www.INWtraining.com

Online Training  ยืนยัน หลักสูตร PDPA for HR อบรม 8 เม.ย.65 สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือได้

Online Training  ยืนยัน หลักสูตร PDPA for HR อบรม 8 เม.ย.65 สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือได้

 

สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM

ราคาท่านละ 2,500 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่งลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 1,900 บาท

 

หลักสูตรนี้มีคำตอบ ที่นี่ที่เดียว
สนใจสมัครเพื่อรับองค์ความรู้ได้ที่ คุณกุ้ง 0988209929 คุณกุ้ง

หลักการและเหตุผล (Introduction)

เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลนั้น เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเก็บรักษาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของลูกค้า ข้อมูลของลูกจ้าง หากข้อมูลเหล่านี้ถูกเผยแพร่โดยไม่ได้รับการอนุญาต จะส่งกระทบกับการชดเชยค่าสินไหม ต่างๆเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้ประกอบการจำเป็นต้องควรระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลพระราชบัญญัติฉบับนี้ของผู้ควบคุมส่วนบุคคล

 

วัตถุประสงค์(Objective)

1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

2. เพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการเตรียมความพร้อมของนายจ้าง /HRเพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขตามกฎหมาย การให้ความยินยอม กระบวนการเพื่อรองรับการใช้สิทธิอื่น ๆ ของเจ้าของข้อมูล

3. รูปเเบบฟอร์ม นายจ้าง /HR /ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายขาย สามารถจัดทำนโยบาย และกำหนดกระบวนการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน (Personal Information) ให้สอดคล้องกับกฏหมายได้

 

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)

  • ผู้นำทุกระดับ HR หรือผู้ที่สนใจ

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

  1. ความหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562

  2. นิยามศัพท์ของ “ข้อมูลส่วนบุคคล” “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” และ “เจ้าของข้อมูล”

  3. การจัดเก็บข้อมมูล การเผยแพร่ข้อมูล

  4. ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล

  5. แนวทางการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องปฏิบัติอย่างไร ผู้ใช้จะต้องมีความรับผิดชอบแบบไหน

  6. มาตรการการควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล อ้างอิงจากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562

  7. ความต้องการใช้ข้อมูลประเด็นที่เกี่ยวกับนายจ้าง และลูกจ้าง ต้องปฏิบัติอย่างไร

  8. ความรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และบทลงโทษ ในการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล

  9. การจ่ายค่าสินไหม โทษปรับต่างๆ

  10. จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

  11. ผลกระทบและการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน(Personal Information) ของฝ่ายHR

  12. ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานและเอกสารอะไรบ้างในฝ่ายบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับกฏหมายฉบับนี้

  13. ใบสมัครงาน สัมภาษณ์งานและการจ้างงานมีอะไรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน

  14. จะกำหนดนโยบาย/ระเบียบปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานอย่างไร

  15.  บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติสำหรับนายจ้าง และฝ่ายบุคคล ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตั้งแต่การกำหนดนโยบาย แนวปฏิบัติ การกำหนดเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล/การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลขององค์กร

    • นายจ้างมีสิทธิเรียก เก็บรักษา ใช้ ข้อมูลของพนักงานได้ทุกกรณีหรือไม่? ข้อมูลใดเรียกเก็บได้ ข้อมูลใดเรียกเก็บไม่ได้?

    • ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน กรณีใด/ประเภทใดบ้าง ต้องขอความยินยอม กรณีใด/ประเภทใด ไม่ต้องขอความยินยอมตามพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

    • เทคนิควิธีการดำเนินการด้านขอความยินยอม จากลูกจ้างเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อใช้ในการปฏิบัติตามสัญญาจ้างแรงงาน

    • HR Privacy Policyคืออะไร?และกรณีศึกษา/ตัวอย่าง การร่างนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (HR Privacy Policy)สำหรับพนักงาน

    • บริษัทจะแจ้งHR Privacy Policyให้พนักงานทราบได้ด้วยวิธีใดได้บ้าง?

    • กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การจัดทำหนังสือขอให้ลูกจ้างส่งข้อมูลส่วนบุคคล

    • กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การปรับปรุงสัญญาจ้าง

    • ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน แบบฟอร์มเอกสารที่เกี่ยวข้องในฝ่ายบุคคล

    • ถาม-ตอบ แลกเปลี่ยนปัญหาการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)

  • 00-14.00 น.

รูปแบบการการอบรม (Methodology)

  • การบรรยาย กิจกรรมกลุ่ม การนำเสนอ

ราคาท่านละ 2,000 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่งลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 1,900 บาท

(ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม สามารถลดหย่อนภาษีได้ 200% ตามประกาศ พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน)

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) ไฟล์ PPT การสอนรูปเเบบฟอร์ม

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

www.tesstraining.com

www.inwtraining.com

 

Online Training เปิดสมัคร ยืนยัน หลักสูตร กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ที่หัวหน้างานและลูกจ้างต้องรู้ 17 พ.ค.2564

Online Training เปิดสมัคร ยืนยัน หลักสูตร กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ที่หัวหน้างานและลูกจ้างต้องรู้ 17 พ.ค.2564

สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรม ZOOM

 ราคา ท่านละ 2,000 บาท/ท่าน มา 4 ท่านขึ้นไป เพียงท่านละ 1900 บาท

 

หลักสูตรนี้มีคำตอบ ที่นี่ที่เดียว
สนใจสมัครเพื่อรับองค์ความรู้ได้ที่ คุณกุ้ง 0988209929 คุณกุ้ง

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้นายจ้าง-ผู้บริหารงานบุคคลทราบถึงการทำสัญญาจ้าง-เทคนิคการแก้ไข-เปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างและการออกระเบียบปฏิบัติเพื่อให้สวัสดิการที่จ่ายให้ลูกจ้าง ไม่ให้เป็นค่าจ้าง ต้องเขียนอย่างไร..?

  2. เพื่อให้ผู้บริหารงานบุคคลและหัวหน้างานทราบหรือเข้าใจถึงกรอบในการลงโทษทางวินัยต่อพนักงานและการพิจารณาความผิดที่กำหนดลงโทษทางวินัยความผิดลักษณะใดเป็นการตักเตือนหรือในกรณีใดเป็นความผิดที่ร้ายแรงถึงจะต้องมีการเลิกจ้างพนักงาน

  3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติได้จริงในการออกหนังสือเลิกจ้างในกรณีต่างๆ เขียนให้ดีให้มีผลทางกฎหมายและป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลังได้ต้องเขียนอย่างไร..?

หัวข้อในการอบรม

หมวด 1: การแก้ไข-เปลี่ยนแปลง สภาพการจ้าง

  1. นายจ้างทำสัญญาจ้างกับลูกจ้างที่ขัดต่อกฎหมาย บังคับใช้ไม่ได้ (เป็นโมฆะ) มีกรณีใดบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง  การทำสัญญาจ้าง 7 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. นายจ้าง มีสิทธิเรียก-รับเงินประกัน การทำงานกับลูกจ้างมีกรณีใดบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง ตำแหน่งงานที่เรียก-รับเงินประกันได้ 7 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. สภาพการจ้างที่เกิดขึ้นจากนายจ้างได้กำหนดขึ้น มีกรณีใดบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง สวัสดิการที่ลูกจ้างได้รับ 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. สภาพการจ้างที่เกิดขึ้นจากข้อตกลงระหว่างนายจ้าง กับลูกจ้าง มีกรณีใดบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง ข้อตกลงที่กำหนดขึ้นร่วมกัน 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. กรณีนายจ้างมีนโยบาย-แก้ไข-เปลี่ยนแปลง-ยกเลิก สภาพการจ้าง ต้องดำเนินการอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง  การเปลี่ยนแปลง สวัสดิการ 5 กรณี  พร้อมคำอธิบาย

  1. กรณีลูกจ้างมีความประสงค์เปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างหรือ เปลี่ยนแปลงข้อตกลงสภาพการจ้าง ปฏิบัติให้ถูกกฎหมาย ต้องดำเนินการอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง  การเปลี่ยนแปลง 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. นายจ้าง-ลูกจ้างตกลงกันกำหนดเหมาจ่ายค่าล่วงเวลาวันละ2 ชั่วโมงรวมกับค่าจ้างในแต่ละวันทำได้ไหมเพราะอะไร..?

  • ยกตัวอย่าง การทำงานเกิดเวลาปกติ 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. นายจ้างมีนโยบาย-ลดค่าจ้าง-ลดสวัสดิการ-ลดค่าเดินทาง ทำได้ไหม – เพราะอะไร..?

  • ยกตัวอย่าง  สิ่งที่นายจ้างกำหนด 5 กรณี  พร้อมคำอธิบาย

  1. จ้างแรงงานต่างด้าวจ่ายค่าจ้าง-จ่ายสวัสดิการให้ได้รับน้อยกว่าแรงงานไทยนายจ้างทำได้ไหม…เพราะอะไร..?

  • ยกตัวอย่าง การจ่ายสวัสดิการต่าง ๆ 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. นายจ้างมีความจำเป็นต้องหยุดกิจการเป็นบางส่วน30วันเป็นการชั่วคราวต้องแจ้งภาครัฐ-ต้องจ่ายค่าจ้างอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การแจ้งภาครัฐ-การแจ้งลูกจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

หมวด : 2 การพิจารณาความผิด เพื่อลงโทษทางวินัย

  1. ลูกจ้างชอบมีพฤติกรรมด่าทอเพื่อนร่วมงาน-ชอบโต้เถียงผู้บังคับบัญชา จะมีความผิดได้รับโทษทางวินัยอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การมีพฤติกรรมต่างๆ 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. ลูกจ้างโพสต์ข้อความด่าบริษัทฯ-ด่าผู้บังคับบัญชา-ด่าเพื่อนร่วมงานลงทางไลน์-ทางเฟซบุ๊กจะมีความผิดได้รับโทษทางวินัยอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การใช้ข้อความต่างๆ 5 กรณี  พร้อมคำอธิบาย

  1. กรณีนายจ้างจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างน้อยกว่าค่าจ้างขั้นต่ำที่รัฐกำหนดไว้จะมีความผิดอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง ความผิดที่ได้รับทางแพ่ง-อาญา  พร้อมคำอธิบาย

  1. ลูกจ้างชอบ มีพฤติกรรมมีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้มาติดต่องานกับนายจ้าง จะมีความผิดได้รับโทษทางวินัย อย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การปฏิบัติตน 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. ลูกจ้างชอบดื่มสุราหรือเสพสารเสพติดแล้วเข้ามาทำงานให้กับนายจ้างจะมีความผิดได้รับโทษทางวินัย อย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การดื่มหรือการเสพ 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. กรณีลูกจ้างลางานไม่ถูกระเบียบบ่อยๆ นายจ้างจะแก้ปัญหาอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การออกระเบียบปฏิบัติ-การลงโทษทางวินัย  พร้อมคำอธิบาย

  1. หัวหน้างาน อนุมัติการลาที่ไม่ถูกระเบียบบ่อยๆ จนเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายจะมีความผิดอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การอนุมัติการลาต่างๆ 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. ปัญหาที่ทำให้พนักงานในองค์กรหรือลูกจ้างตามสัญญาจ้างต่างๆทำผิดวินัยบ่อยๆมาจากอะไร..?

  • ยกตัวอย่าง จุดอ่อนที่เกิดขึ้น 5 กรณี   พร้อมคำอธิบาย

  1. กรณีลูกจ้างออกจากงานนายจ้างไม่ออกใบสำคัญการทำงานให้จะมีความผิดชดใช้ค่าเสียหายต่อลูกจ้างอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การชดใช้ค่าเสียหายตามตำแหน่งงาน 5 กรณี  พร้อมคำอธิบาย

  1. ในสัญญาจ้างระบุไว้ว่าในระหว่างเป็นลูกจ้างหรือลูกจ้างออกจากงานไปแล้วภายใน 2 ปี ห้ามมิให้ลูกจ้างเอาความลับทางการค้าของนายจ้างไปเปิดเผยให้กับคู่แข่งทางการค้าของนายจ้างหรือไปทำงาน-ไปถือหุ้นหรือไปทำธุรกรรมต่างๆ กรณีลูกจ้างฝ่าฝืนจะรับผิดชดใช้ค่าเสียหายอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การรับผิดชดใช้ค่าเสียหายกรณีผิดสัญญาจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

 

  1. ความผิดที่ผู้บริหาร-หัวหน้างานเป็นผู้ลงโทษทางวินัย เป็นความผิดลักษณะใด..?

  • ยกตัวอย่าง การทำผิดวินัย 5 กรณี พร้อมคำอธิบาย

  1. ความผิดที่ผู้บริหารงานบุคคล (HR.) เป็นผู้ลงโทษทางวินัยเป็นความผิดลักษณะใด..?

  • ยกตัวอย่าง การทำผิดวินัย 5 กรณี  พร้อมคำอธิบาย

  1. การพิจารณาความผิดเพื่อกำหนดลงโทษทางวินัย เป็นหนังสือเตือนหรือสั่งพักงาน เป็นความผิดลักษณะใด..?

  • ยกตัวอย่าง การทำผิดที่ยังไม่ทำให้เสียการปกครอง  พร้อมคำอธิบาย.

หมวด 3: การออกหนังสือเลิกจ้าง และการป้องกันมิไห้ลูกจ้างฟ้องศาลภายหลัง

  1. การพิจารณาความผิด เพื่อกำหนดลงโทษทางวินัย เป็นกรณีร้ายแรง ซึ่งจะต้องถูกเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยใดๆ เป็นความผิดลักษณะใด..?

  • ยกตัวอย่าง การทำผิดที่มีความเสียหายเกิดขึ้น  พร้อมคำอธิบาย

  1. เมื่อเกิดปัญหามีข้อพิพาทแรงงานเกิดขึ้นในองค์กรมีพนักงานชุมนุมในเวลาทำงานหรือในเวลาพัก ตรวจสอบพบว่านายจ้างได้รับความเสียหายนายจ้าง เลิกจ้างเป็นบางคนทำได้ไหม…เพราะอะไร..?

  • ยกตัวอย่าง การก่อม๊อปเถื่อนหรือการชุมนุมในกรณีต่างๆ  พร้อมคำอธิบาย

  1. ลูกจ้างปฏิบัติงานทำความเสียหายแล้วออกจากงานไป นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง-ไม่จ่ายเงินประกันการทำงานคืนให้ ทำได้ไหม…เพราะอะไร..?

  • ยกตัวอย่าง การทำผิดในกรณีต่างๆแล้วออกจากงานไป  พร้อมคำอธิบาย

  1. ลูกจ้างทำผิดวินัยร้ายแรงในระหว่างที่นายจ้างสอบสวนความผิดได้ไกล่เกลี่ยให้ลูกจ้างลาออกจากงานเพื่อป้องกัน มิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลังต้องบันทึกข้อตกลงอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การบันทึกข้อตกลงเพื่อประกอบกับหนังสือลาออกจากงาน  พร้อมคำอธิบาย

  1. กรณียื่นหนังสือลาออกก่อนออกจากงาน 30 วัน ทำงานได้3วันแล้วไม่ได้มาทำงานอีก ลูกจ้างจะมีความผิดชดใช้ค่าเสียหายต่อนายจ้างอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การรับผิดชดใช้ค่าเสียหายต่อนายจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

  1. เลิกจ้างลูกจ้างที่ไม่ผ่านทดลองงานหรือในระหว่างขยายระยะเวลาทดลองงานเพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง นายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายค่าอะไรบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง การบอกกล่าวล่วงหน้าและการได้รับสิทธิของลูกจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

  1. เลิกจ้างลูกจ้างตามสัญญาจ้างงานปีต่อปีนายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายค่าอะไรบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง การเลิกจ้างสัญญาจ้างต่างๆ  พร้อมคำอธิบาย

 

  1. เลิกจ้างลูกจ้าง เพราะเหตุมาปฏิบัติงานสาย และนายจ้างได้ตักเตือนแล้วเพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง นายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายอะไรบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง การออกแบบหนังสือเลิกจ้างและการได้รับสิทธิของลูกจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

  1. เลิกจ้างลูกจ้างที่มีปัญหาด้านสุขภาพ-ลาหยุดงานมาก-หย่อนสมรรถภาพในการทำงานเพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง นายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายอะไรบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง การออกหนังสือเลิกจ้างและการได้รับสิทธิของลูกจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

  1. เลิกจ้างลูกจ้าง เพราะพิษเศรษฐกิจจากโรคโควิด-19 ระบาด เพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง นายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายอะไรบ้าง..?

  • ยกตัวอย่าง การออกหนังสือเลิกจ้าง แลกการได้รับสิทธิของลูกจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

  1. เลิกจ้างลูกจ้างเพราะปิดกิจการตามสาขาที่นายจ้างเป็นเจ้าของกิจการเพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลังนายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การได้รับสิทธิของลูกจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

  1. เลิกจ้างลูกจ้างที่ไม่มีความผิดมีนโยบาย ให้ออกจากงานตามโครงการเกษียณงานก่อนกำหนด ตามที่ระบุไว้ ในข้อบังคับในการทำงาน เพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลังนายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายอย่างไร.. ?

  • ยกตัวอย่าง การจัดทำโครงการ การรับสมัคร การอนุมัติ  พร้อมคำอธิบาย

  1. กรณีเลิกจ้าง-ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าเสียหาย จากกการถูกเลิกจ้างไม่เป็นธรรมเป็นความผิดลักษณะใด..?

  • ยกตัวอย่าง ความผิดที่ถูกเลิกจ้าง 5 กรณี  พร้อมคำอธิบาย

  1. เลิกจ้างลูกจ้างกรณีเกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจจึงมีนโยบายเปลี่ยนนายจ้างใหม่-เปลี่ยนนิติบุคคลเพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลังนายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การได้รับสิทธิของลูกจ้าง  พร้อมคำอธิบาย

  1. ลูกจ้างออกจากงานลาออก-ถูกปลดออก-ถูกไล่ออกจะได้รับสิทธิวันลาหยุดพักผ่อนอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การออกจากงานในกรณี ต่างๆ  พร้อมคำอธิบาย

  1. ลูกจ้างออกจากงาน-ลาออก-ถูกปลดออก-ถูกไล่ออกจะได้รับสิทธิการว่างงานจากสำนักงานประกันสังคมในอัตราเท่าใด..?

  • ยกตัวอย่าง การออกกจากงานในกรณีต่างๆ  พร้อมคำอธิบาย

  1. นายจ้าง มีนโยบายแก้ไขข้อบังคับในการทำงาน ให้สอดคล้องกับกฎหมายใหม่-ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันจะตัดหรือเพิ่มข้อความ ต้องดำเนินการอย่างไร..?

  • ยกตัวอย่าง การแก้ไขหมวด สวัสดิการ หมวดลงโทษทางวินัย  พร้อมคำอธิบาย

  • ถาม – ตอบ – แนะนำ

  • ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดกาลไม่มีค่าใช้จ่าย

  • วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านแรงงาน อาจารย์ สมบัติ  น้อยหว้า

  • ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์

ราคาท่านละ 2,000 บาท (ไม่รวม VAT)

โปรโมชั่น

ลงทะเบียนพร้อมกัน 4 ท่านขึ้นไป เหลือ ท่านละ 1,900

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

 

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

www.tesstraining.com

www.inwtraining.com

Public Training เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร VDA 6.5 การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ 26 ม.ค.66

Public Training เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร VDA 6.5 การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ 26 ม.ค.66

โรงเเรม โนโวเทล สุขุมวิท 20 ติด BTS อโศก

หลักการและเหตุผล

The Verband der Automobilindustrie (Automobile Industry Association -VDA) เป็นผู้จัดทำ VDA 6.5 Product Audit ซึ่งมีเป้าหมาย คือการพัฒนากระบวนตรวจสอบผลิตภัณฑ์ (Product Audit) ที่ให้การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเน้นการป้องกันข้อบกพร่องและการลดการผันแปรและของเสียในห่วงโซ่อุปทาน VDA 6.5 มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้แนวทางทั่วไปสำหรับระบบการจัดการการตรวจสอบ สำหรับองค์กรด้านการผลิตและบริการด้านยานยนต์

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเห็นถึงความมุ่งมั่นในความเป็นเลิศความน่าเชื่อถือและคุณภาพตลอดจนระดับการบริการสูงสุด

  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเพิ่มผลผลิตผ่านการระบุพื้นที่ที่มีปัญหาในระหว่างการตรวจสอบซึ่งสามารถช่วยลดหรือกำจัดเวลาหยุดทำงานและลดการสูญเปล่าในระหว่างกระบวนการผลิต

  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำเทคนิคต่างๆไปสร้างแนวทางเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขัน

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)

  • สำหรับผู้ทำหน้าที่ตรวจสอบระบบ และบุคลากรในกิจกรรมการตรวจสอบวัดและทดสอบภายในองค์กรรวมทั้งผู้ตรวจสอบภายในที่ต้องการทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำงาน

หัวข้อเนื้อหา

Ø การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ (Product Audit) เป็นกระบวนทัศน์ใหม่ในเวทีการตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบที่เชื่อมโยงระหว่างการตรวจสอบระบบและการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบนี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถของกระบวนการในการผลิตผลิตภัณฑ์และการให้บริการ

Ø พักเบรก

Ø หลักสูตรนี้ออกแบบมาเป็นพิเศษสำหรับ บริษัท ที่กำลังมองหากระบวนการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ หลักสูตรนี้ให้ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจถึงข้อกำหนดในการตรวจสอบแนวคิดและบทบาทของผู้ตรวจสอบภายในเกี่ยวกับ VDA 6.5

Ø พักรับประทานอาหารกลางวัน

Ø การประยุกต์ใช้งาน

Ø กระบวนการประเมินผลและการประยุกต์ใช้วิธีการกระบวนการในการตรวจสอบ (process approach to auditing) ตามที่ระบุไว้ในข้อกำหนดของ IATF 16949: 2019

Ø สามารถตรวจพบและแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที

Ø ลดการเกิด COPQ: Cost of Poor Quality

Ø พักเบรก

Ø การวางแผน (Planning), การถ่ายทอด (Deploy), การเข้าตรวจ (Conduct the Audit), การรายงานผลต่อที่ประชุมและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Top Management Review and Continuous Improvement)

Ø มีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการทำงานภายใน

Ø สร้างขวัญและกำลังใจที่ดีต่อพนักงานในองค์กร

สรุปประเด็นการเรียนรู้

การบรรยาย  การโค้ชชิ่งแบบ Small Group การปภิปราย

โอนก่อนวันนี้ ราคาท่านละ 3,500 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่ง

ลงทะเบียน 3 ท่าน ท่านละ 3,200 บาท

ลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 2,900 บาท

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน

สถานที่อบรม: โรงแรมโกลด์ออร์คิด วิภาวดี

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 31/155 หมู่ที่ 1 ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี: 0105557143661

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: inwtraining.sale@gmail.com

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

www.tesstraining.com

www.inwtraining.com